1 / 18

ธปท. กับความท้าทายในยุคเงินทุนเคลื่อนย้ายเสรี ภายใต้ภาวะ Global Imbalances

ธปท. กับความท้าทายในยุคเงินทุนเคลื่อนย้ายเสรี ภายใต้ภาวะ Global Imbalances. ธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 23 กุมภาพันธ์ 2550. ประเด็นหลักในวันนี้. ความท้าทายที่เศรษฐกิจไทยและ ธปท. ต้องเผชิญ Global imbalances ในโลกที่มีความเชื่อมโยงทางการเงินสูง

oki
Télécharger la présentation

ธปท. กับความท้าทายในยุคเงินทุนเคลื่อนย้ายเสรี ภายใต้ภาวะ Global Imbalances

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ธปท. กับความท้าทายในยุคเงินทุนเคลื่อนย้ายเสรี ภายใต้ภาวะ Global Imbalances ธาริษา วัฒนเกส ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 23 กุมภาพันธ์ 2550

  2. ประเด็นหลักในวันนี้ • ความท้าทายที่เศรษฐกิจไทยและ ธปท. ต้องเผชิญ • Global imbalances ในโลกที่มีความเชื่อมโยงทางการเงินสูง • ความจำเป็นที่ต้องดำเนินมาตรการ 18 ธ.ค. • A difficult choice: การชั่งน้ำหนัก (cost-benefit) กับทางเลือกที่มีจำกัด • ธปท. ทราบดีว่า URR จะเป็นมาตรการระยะสั้น • พร้อมปรับแผนเมื่อ cost เริ่มสูงกว่า benefit • ในอนาคต ประเทศไทยไม่สามารถแข่งด้วยค่าเงินอย่างเดียวได้ • ทางออกคือการเพิ่มขีดความสามารถภาคเอกชน ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกหน่วยงานต้องช่วยกัน

  3. ปัญหาที่ 1. ในโลกที่มีความเชื่อมโยงทางการเงินสูงการเร่งตัวของการขาดดุลบัญชีเดินสะพัดใน สรอ. ตั้งแต่ปี 2549 เกิดขึ้นพร้อมกับการอ่อนค่าของดอลลาร์ USD index BnUSD Source: Bloomberg * US Current Account for 2006Q4 is forecast by the BIS

  4. 2548 2549 ปัญหาที่ 2. ในขณะเดียวกัน เอเชียเกินดุลมาก(Global imbalances) และ GDP growth สูง จึงมีการคาดการณ์ว่าค่าเงินเอเชียจะแข็งขึ้น ทำให้ปริมาณเงินทุนไหลเข้าเอเชียมากขึ้น BnUSD ดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 2548 และ 2549* *ในปี 2549 เอเชียเกินดุลรวม 456 พันล้านดอลลาร์ สรอ. ขณะที่สหรัฐฯขาดดุลประมาณ 861 พันล้านดอลลาร์ สรอ. Note : Other Asia includes Hong Kong, India ,Indonesia, Korea, Malaysia, Philippines, Singapore, Thailand and Taiwan. Source : 2005 data from IMF, WEO (2006) ; 2006 forecast by Bank for International Settlements

  5. ปัญหาที่ 3. เป็นที่น่าสังเกตว่าในขณะที่ทุกประเทศเกินดุลบัญชีเดินสะพัด แต่ไทยและเกาหลีเกินดุลเงินทุนอย่างมากเมื่อเทียบกับขนาดของเศรษฐกิจ ทั้งสองปัจจัยสร้างแรงกดดันให้ค่าเงินแข็ง ในปี 2549 หมายเหตุ: 1. ข้อมูล Current A/C, change in FX reserves และ BOP ของไทยเป็นข้อมูลล่าสุดของทั้งปี 2549 ส่วน Capital A/C เป็นของ 11 เดือนแรกของปี 2549/ 2. Current, Financial A/C และ BOP ของ Indonesia, Philippines, Malaysia, Singapore และ Taiwan เป็นข้อมูล 2549 Q1-3 ส่วน change in reserves เป็นของทั้งปี 2549/ 3. ข้อมูลของ Korea เป็นของทั้งปี

  6. ทั้งนี้ ก่อน 18 ธ.ค. 2549 เงินทุนไหลเข้าไทยเร็วกว่าภูมิภาคเอเชีย โดยยิ่งคาดว่าบาทจะแข็งต่อเนื่อง ยิ่งมี inflows มาก สะสมความเสี่ยงต่อ reversal เมื่อ sentiment เปลี่ยน Source: Bloomberg, Bank of Thailand, SET

  7. โดยเฉพาะมีเงินทุนจากนักลงทุนต่างประเทศไหลเข้ามาที่ภาค non-bankของไทยสุทธิถึง 10 พันล้าน USD ในช่วง 10 เดือนแรกของปี 2549รวมถึงการลงทุนในหลักทรัพย์นอกตลาด รวมทั้ง property funds ที่เติบโตเร็วมาก Sources: BOT and SET

  8. ซึ่งแนวโน้มจนถึงวันนั้น แม้ว่าเศรษฐกิจไทยจะขยายตัวช้ากว่าหลายประเทศ แต่ค่าเงินบาทกลับแข็งขึ้นต่อเนื่องและมากที่สุดเมื่อเทียบกับประเทศคู่ค้าและคู่แข่งสำคัญ Year-to-date appreciationณ วันที่ 15 ธ.ค. 2549 2549 Q3 GDP growth Source: Compiled by Bank of Thailand

  9. ประเด็นที่ ธปท. กังวล:แม้การส่งออกโดยรวมยังดี แต่หากบาทแข็งค่าที่ pace นี้ ผลกระทบต่อ real sector อาจรุนแรง ในระยะสั้นมีความเสี่ยงสูงต่อรายได้และการจ้างงานในภาคเกษตร และ Labor- intensive manufacturing ซึ่งจะมี impact ในวงกว้าง การจ้างงาน

  10. ด้วยเหตุนี้จึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้อง break momentum ของค่าเงินเพื่อเอื้อต่อ real sector ที่กำลังปรับตัวอย่างหนัก และลดผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ซึ่ง ธปท. มีทางเลือกทางนโยบายดังนี้ • การแทรกแซงค่าเงิน โดยทำ sterilization • การลดดอกเบี้ยนโยบาย • การดำเนินมาตรการเพื่อสกัดเงินทุนไหลเข้าประเภทระยะสั้น

  11. 1. ธปท. ได้เข้าแทรกแซงค่าเงินอย่างต่อเนื่อง และสะสม international reserve อย่างรวดเร็ว แต่ก็ยังไม่สามารถชะลอ appreciation pace ได้ และ sterilization ทำได้จำกัด อัตราการเปลี่ยนแปลงของเงินสำรองระหว่างประเทศ ปี 2549 (D%) แหล่งข้อมูล:NESDB, BOT, CEIC

  12. 2. กนง. คงดอกเบี้ยนโยบายไว้ที่ 5% เมื่อ 13 ธ.ค. 2549 เพราะความเสี่ยงต่อเงินเฟ้อจากราคาน้ำมันยังมีพอสมควร เนื่องจาก OPEC กำลังพิจารณาลดกำลังการผลิต ในขณะที่แนวโน้มเศรษฐกิจยังขยายตัวดี 1 ต.ค. – 11 ธ.ค.avg 57.01 ดอลลาร์ สรอ. ต่อบาร์เรล Annual percentage change 11 ธ.ค.58.21 น้ำมันดิบดูไบ GDP growth Source: Bloomberg, ปตท. Source: Bank of Thailand Remark: The fan chart covers 90 percent of the probability distribution

  13. ค่าเงินบาทมีแนวโน้มแข็งมาตลอด 5-6 ปีที่ผ่านมาไม่ว่าส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยจะเป็นบวกหรือลบ ที่สำคัญการลดดอกเบี้ยคงไม่ช่วยลดการเก็งกำไรในระยะสั้นๆ เพราะนักลงทุนต่างชาติได้รับกำไรจากการเปลี่ยนแปลงของค่าเงินมากกว่าจากส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยมาก Baht % Correlation = - 0.24 (LHS) (RHS) Source: Bank of Thailand

  14. 3. มาตรการแบบ conventional และตรงจุดได้ใช้ไปแล้ว แต่ค่าเงินยังคงแข็งขึ้นอย่างรวดเร็ว โดยไม่มีสัญญาณว่าจะมี two-way expectation เกิดขึ้น

  15. Appreciation เป็นเหตุให้จำเป็นต้องใช้มาตรการ URR ซึ่งหากพิจารณา momentum ของค่าเงินบาทต่อดอลลาร์ สรอ. ก่อนมาตรการ URR ซึ่งพบว่าเงินบาทแข็งขึ้นเร็วที่สุดในภูมิภาค ... THB + Appreciation- Depreciation Source: Compiled by Bank of Thailand

  16. Depreciation หลังจากออกมาตรการจะเห็นได้ว่า pace ของ appreciation ของค่าเงินบาทชะลอลงอย่างเห็นได้ชัดเทียบกับค่าเงินสกุลอื่น นับว่ามาตรการได้บรรลุวัตถุประสงค์แล้ว ผลบวกในระยะสั้นเป็นไปตามที่คาด (19 ธ.ค. 2549- 15 ก.พ. 2550) • ลดความเร็วของการเคลื่อนไหวในทิศทางเดียวของค่าเงินบาท • ค่าเงินบาทเคลื่อนไหวสอดคล้องกับภูมิภาคมากขึ้น THB KRW IDR SGD MYR PHP - Depreciation + Appreciation Source: Compiled by Bank of Thailand

  17. สรุปการกำกับ capital flow มาตรการที่เหลืออยู่น่าจะเพียงพอต่อการรับมือกับ excessive speculation ที่อาจนำไปสู่ rapid appreciation อีก

  18. โดยสรุป สำหรับเศรษฐกิจเปิดขนาดเล็กแบบไทยนั้นต้องหาทางบริหารความเสี่ยงจาก Global imbalances • ธปท. และ ศก. ไทยต้องเผชิญกับ Global imbalances ในโลกที่มีความเชื่อมโยงทางการเงินสูง • ผลคือ NEER ของไทยแข็งค่าขึ้นเร็วมาก real sector ต้องปรับตัวอย่างรวดเร็ว ความเสี่ยงอยู่ที่ภาคเกษตรและ labor-intensive manufacturing และมีความเสี่ยงต่อ flows reversal เมื่อ sentiment เปลี่ยน • มีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะ break rapid NEER momentum ทั้งนี้ ธปท. ไม่มี THB/USD target อยู่ในใจ • เป็นการตัดสินใจที่คำนึงถึง cost-benefit balancing • ธปท. ทราบดีแต่ต้นว่าผลบวกของ URR จะมีอยู่ในระยะสั้นๆในขณะที่ผลด้านลบจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จึงตั้งใจให้เป็นมาตรการชั่วคราว • ในอนาคต ประเทศไทยไม่สามารถแข่งด้วยค่าเงินอย่างเดียวได้ ทางออกคือการเพิ่มขีดความสามารถภาคเอกชน ซึ่งเป็นสิ่งที่ทุกหน่วยงานต้องช่วยกัน

More Related