1 / 19

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

[ แผนกคอมพิวเตอร์ ]. หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410). ขั้นตอนวิธีวิเคราะห์ปัญหา การเขียนโปรแกรม. 1. บทที่. 1. ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม. ขั้นตอนพื้นฐานที่สำคัญก่อนการเขียนโปรแกรม กำหนดขอบเขตของปัญหา การพัฒนาลำดับขั้นตอนการทำงานเพื่อแก้ปัญหา การออกแบบโปรแกรม เขียนโปรแกรม

quemby-dale
Télécharger la présentation

หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. [แผนกคอมพิวเตอร์] หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410) ขั้นตอนวิธีวิเคราะห์ปัญหา การเขียนโปรแกรม 1 บทที่

  2. 1.ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม1.ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม • ขั้นตอนพื้นฐานที่สำคัญก่อนการเขียนโปรแกรม • กำหนดขอบเขตของปัญหา • การพัฒนาลำดับขั้นตอนการทำงานเพื่อแก้ปัญหา • การออกแบบโปรแกรม • เขียนโปรแกรม • การคอมไพล์โปรแกรม • การทดสอบโปรแกรม • การจัดทำเอกสารประกอบโปรแกรม หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  3. 2.กระบวนการทำงานในหน่วยความจำ2.กระบวนการทำงานในหน่วยความจำ ของคอมพิวเตอร์ โครงสร้างของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วย 5 หน่วย คือ 1. หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) 2. หน่วยความจำ (Memory Unit) 3. หน่วยคำนวณ (Arithmetic Unit) 4. หน่วยควบคุม (Control Unit) 5. หน่วยแสดงผล (Output Unit) หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  4. หน่วยรับข้อมูล เป็นหน่วยที่ใช้รับข้อมูลหรือคำสั่ง ป้อนเข้าสู่หน่วยความจำ ในคอมพิวเตอร์ เมื่อผู้ใช้มีความต้องการที่จะป้อนข้อมูลเข้าไป ยังคอมพิวเตอร์ จะต้องใช้อุปกรณ์เพื่อนำข้อมูลไปเก็บไว้ใน หน่วยความจำ เช่น คีย์บอร์ด หรือแป้นพิมพ์ หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  5. หน่วยความจำ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เก็บ-จำข้อมูล หรือโปรแกรมที่อ่านเข้ามาผ่าน ทางหน่วยรับข้อมูล ลักษณะโครงสร้างของหน่วยความจำ มีลักษณะเหมือนหน้ากระดาษที่ใช้เขียนหรือแบ่งเป็นช่องสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ เท่า ๆ กัน หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  6. หน่วยคำนวณ เป็นหน่วยที่ทำการคำนวณต่าง ๆ ตามที่โปรแกรมกำหนด ในหน่วยความจำ ข้อมูลที่ใช้ในการคำนวณเอามาจาก หน่วยความจำ เปรียบได้กับสมองของมนุษย์ หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  7. หน่วยแสดงผล ทำหน้าที่นำผลลัพธ์ที่ได้จากการคำนวณ ที่เก็บไว้ในหน่วย ความจำ แสดงออกมาภายนอก ตัวอย่างเช่น เครื่องพิมพ์ , จอภาพ หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  8. หน่วยควบคุม ทำหน้าที่ควบคุมให้การทำงานหน่วยอื่น ๆ ทั้ง 4 หน่วย เป็นไปโดยถูกต้องและสัมพันธ์กัน หากหน่วยควบคุมนี้ขัดข้องการทำงานก็จะผิดพลาด หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  9. 3.ตรรกะกับเซต ตรรกะ(Logic) หมายถึง เหตุผลที่ใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ตรรกะเป็นพื้นฐานเพื่อให้เข้าใจเกี่ยวกับการทำงานของ คอมพิวเตอร์ เนื่องจากการทำงานของคอมพิวเตอร์ จะทำงานสัมพันธ์กับความรู้ทางด้านตรรกะ ตัวดำเนินการ เรียกว่า “โอเปอเรเตอร์” คือ เครื่องหมายที่ใช้บอกการกระทำ ตัวถูกดำเนินการ เรียกว่า”โอเปอแรนด์” หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  10. 1. ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ เป็นเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์การคำนวณทางคณิตศาสตร์ + บวก - ลบ * คูณ / หาร DIV การหาร โดยคิดเฉพาะจำนวนเต็มที่ได้จากการหาร MOD การหาร โดยคิดเฉพาะเศษที่ได้จากการหาร ตัวอย่างเช่น A, b, c, 4, 2 เป็นโอเปอแรนด์ + - * / เป็นโอเปอเรเตอร์ หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  11. 2. ตัวดำเนินการทางตรรกศาสตร์ เป็นเครื่องหมายการกระทำทางตรรกศาสตร์ประกอบด้วย โอเปอแรนด์ที่เป็นตัวแปร หรือค่าคงที่ที่เป็นตัวเลข เชื่อมกันด้วยโอเปอเรเตอร์ เช่น การเปรียบเทียบมากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ หรือ สัญลักษณ์ทางตรรกศษสตร์ ได้แก่ AND , OR , NOT หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  12. เซต (Set) คือ กลุ่ม หมู่ เหล่า กอง ฝูง ชุด เรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า “สมาชิก” หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  13. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเซตสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเซต สัญลักษณ์ที่ใช้แทนเซต ชื่อและสมาชิกของเซต 1. สามารถใช้วงกลม , วงรี แทนเซตต่าง ๆ ได้ 2. ชื่อเซตนิยมใช้ตัวใหญ่ทั้งหมด เช่น A , B , C, ... , Z 3. สัญลักษณ์  แทนคำว่า “เป็นสมาชิกของ”  แทนคำว่า “ไม่เป็นสมาชิกของ” เช่น - ให้ A เป็นเซตของจำนวนนับตั้งแต่ 1 ถึง 5 1 A, 2 A, 3 A, 4 A, 5 A, A 0 A, 6 A, - ให้ B เป็นเซตของสระในภาษาอังกฤษ a B, e B, i B, o B, U B, B b B, c B, หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  14. - เซตว่าง (Null Set / Empty Set) คือเซตที่ไม่มีสมาชิกเลย เขียนแทนด้วย { } หรือ f (phi) เช่น เซตของจำนวนเต็มที่อยู่ระหว่าง 1 กับ 2 เซตของสระในคำว่า “อรวรรณ” - เซตจำกัด (Finite Set) คือเซตที่มีจำนวนสมาชิกเท่ากับ จำนวนเต็มบวก หรือศูนย์ เช่น f มีจำนวนสมาชิกเป็น 0 { 1, 2, 3, ... , 100} มีจำนวนสมาชิกเป็น 100 - เซตอนันต์ (Infinite Set) คือ เซตที่ไม่ใช่เซตจำกัด ไม่ สามารถบอกจำนวนสมาชิกได้ เช่น เซตของจำนวนเต็มบวก {1, 2, 3, ... } หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  15. 1. วิธีแจงแจงสมาชิก หลักการเขียนมีดังนี้ - เขียนสมาชิกทั้งหมดในวงเล็บปีกกา - สมาชิกแต่ละตัวคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค ( , ) - สมาชิกที่ซ้ำกันให้เขียนเพียงตัวเดียว - กรณีจำนวนสมาชิกมาก ๆ ให้เขียนสมาชิกอย่างน้อย 3 ตัวแรก แล้วใช้จุด 3 จุด แล้วจึงเขียนสมาชิก ตัวสุดท้าย วิธีเขียนเซต อีก 2 วิธี หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  16. 2. วิธีบอกเงื่อนไขของสมาชิก หลักการเขียนมีดังนี้ - เขียนเซตด้วยวงเล็บปีกกา - กำหนดตัวแปรแทนสมาชิกทั้งหมดตามด้วยเครื่องหมาย | อ่านว่า “โดยที่”) แล้วตามด้วยเงื่อนไขของตัวแปรนั้น ดังรูปแบบ {X | เงื่อนไขของ X} หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  17. 4.ตรรกะกับการแก้โจทย์ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์4.ตรรกะกับการแก้โจทย์ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ คือ การนำขั้นตอนการเขียนโปรแกรม ขั้นตอนที่ 1การกำหนดขอบเขตของปัญหา ขั้นตอนที่ 2 การพัฒนาลำดับขั้นตอนการทำงานเพื่อแก้ปัญหาขั้นตอนที่ 3 การออกแบบโปรแกรม มาประยุกต์ใช้เพื่อให้นักเรียนได้รับการฝึกฝนให้มีกระบวนการ แก้ปัญหาโจทย์ทางคอมพิวเตอร์อย่างมีระบบด้วยการวิเคราะห์และออกแบบเพื่อนำไปพัฒนา หรือเขียนโปรแกรมภาษาต่อไป หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  18. 5.หลักเกณฑ์การแก้ปัญหาโจทย์ด้วยคอมพิวเตอร์ มี 5ข้อ คือ 1.สิ่งที่โจทย์ต้องการ 2. รูปแบบของผลลัพธ์ที่ต้องการ 3. ข้อมูลนำเข้า 4.ตัวแปรที่ใช้ 5. วิธีการประมวลผล ต้องการพ.ทสามเหลี่ยม =½ x B x H กำหนดให้ B = 5 H = 5 หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

  19. 1 บทที่ จบการนำเสนอ ขั้นตอนวิธีวิเคราะห์ปัญหาการเขียนโปรแกรม หลักการเขียนโปรแกรม (2201-2410)

More Related