1 / 66

การใช้งานโปรแกรม Turn it in

การใช้งานโปรแกรม Turn it in. ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรกฎาคม 2557. Turnitin คืออะไร?.

Télécharger la présentation

การใช้งานโปรแกรม Turn it in

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การใช้งานโปรแกรม Turnitin ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรกฎาคม 2557

  2. Turnitinคืออะไร? • เครื่องมือที่ใช้ตรวจสอบการคัดลอกผลงานการเขียนทางวิชาการที่เป็นสิ่งพิมพ์ออนไลน์ โดยการส่งข้อมูลหรือบทความเข้าสู่ระบบ แล้วระบบจะทำการเปรียบเทียบ เพื่อตรวจสอบข้อความซํ้ากับแหล่งข้อมูลที่รองรับในระบบ ใช้หลักการเทียบซ้ำคำต่อคำ (Word by word) ซึ่งระบบแสดงผลการตรวจที่ง่ายต่อการแปลผลและนำไปใช้งาน เรียกว่า รายงานต้นฉบับ (Originally report) • พร้อมทั้งชี้แหล่งข้อมูลที่ปรากฏซ้ำ และแสดงรายการดังกล่าวเป็นแถบสีและระดับเปอร์เซ็นต์การเทียบซ้ำ (Similarity index)

  3. แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบผลงานแหล่งข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบผลงาน • ข้อมูลมากกว่า 12 หมื่นล้านหน้า ที่เผยแพร่ทั้งปัจจุบันและย้อนหลัง (5 ปี) บนอินเตอร์เน็ตที่สามารถเข้าถึงได้ • ผลงานที่ตีพิมพ์เผยแพร่เป็นกลุ่มสิ่งพิมพ์ต่อเนื่องเช่น วารสาร นิตยสารเป็นต้น และฐานข้อมูลสิ่งพิมพ์ (published works) - PubMed , GALE OneFile, The COMPLETE EBSCO database , JISC Collections and e-Book project, McGraw Hill, PubMed Central, Open Archives - CrossRef - 25+ million journal articles already ACM, BMJ Publishing Group, Elsevier, IEEE, Nature Publishing Group, Oxford University Press, Sage, Informa UK (Taylor & Francis), Wiley Blackwell, Springer, Sage, Am. Institute of Physics,Am. Physical Society, Am. Psychological Society, AAAS • ผลงานของนักศึกษาที่ส่งและจัดเก็บในฐานข้อมูลของ Turnitin (student papers)

  4. การให้บริการของ Turnitin • แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ คือ OriginalityCheck, GradeMarkและ PeerMarkดังนี้

  5. การเข้าใช้โปรแกรม Turnitin สามารถเข้าใช้ผ่าน Medical Database ในหน้าเว็บไซต์ห้องสมุด คณะแพทยศาสตร์ ตามลิ้งค์นี้ http://www.med.cmu.ac.th/library/fdatabase/

  6. สำหรับเลือกภาษา – เลือกเป็น English(United States) เท่านั้น

  7. สำหรับเลือกภาษา – เลือกเป็น English(United States) เท่านั้น

  8. หรือสามารถเข้าใช้งาน Turnitinสามารถเข้าใช้งานได้โดยตรงในเว็บไซต์ http://www.turnitin.com/en_us สร้าง บัญชีผู้ใช้ เข้าสู่ระบบ

  9. หลักการทำงานของโปรแกรม Turnitin ทำหน้าที่ส่งผลงาน (Submit paper) ซึ่งนักเรียนต้องมี Class ID และ Class Enrollment Password ที่ได้จากผู้สอน (Instructor) ทำหน้าที่ 2 ส่วน คือ Adding class, Add Assignment และจัดการผลงานของผู้เรียนได้ หรือ TA เป็นผู้ช่วยสอนของ Instructor สามารถนำรายชื่อผู้ใช้เข้าไปในระบบ พร้อมแจ้ง Class ID และ Class Enrollment Password ให้กับผู้เรียน

  10. หลักการใช้งานโปรแกรม Turnitin 1. ผู้ใช้บริการสามารถขอรับ Account ID และ Join Password ของสถาบัน ได้ที่ห้องสมุดคณะแพทยศาสตร์ หรือสถาบันของตน 2. การเข้าใช้โปรแกรม 3. การสร้างบัญชีผู้ใช้ เพื่อลงทะเบียน หรือเข้าสู่ระบบ 4. การสร้างห้องเรียน (Add Class) 5. การสร้างรายวิชาหรือการบ้าน (Add Assingment) 6. การส่งผลงานเข้าสู่ระบบ ( Submit paper) 7.การอ่านผลงานตรวจสอบการคัดลอกผลงาน เรียกว่า รายงานต้นฉบับ (Originally report)

  11. สร้างบัญชีผู้ใช้สำหรับผู้สอนสร้างบัญชีผู้ใช้สำหรับผู้สอน (Instructor) Account ID : 63721 Join Password : medcmu2014 • การกำหนดรหัสผ่าน จะต้องกำหนดรหัสผ่าน โดยมีความยาว 6 – 12 ตัวอักษร จะต้องประกอบด้วยทั้งตัวเลขและตัวตัวอักษร และพิมพ์รหัสผ่านซ้ำอีกครั้งเพื่อยืนยัน • การระบุคำถามและคำตอบเพื่อมาตรการความปลอดภัยซึ่งจะใช้ในกรณีลืมรหัสผ่าน • จากนั้นยอมรับข้อตกลง และสร้างบัญชีผู้ใช้

  12. ตัวอย่างการกรอกรายละเอียดการลงทะเบียนแบบผู้สอน (Instructor) Account ID : 63721 Join Password : medcmu2014

  13. เมื่อสร้างบัญชีผู้ใช้สำเร็จจะปรากฏหน้าจอ ดังภาพ ผู้ใช้ที่เป็นผู้สอนสามารถมีได้ 2 สถานะ คือ ผู้สอน (Instructor) และ นักศึกษา (Student) ซึ่งหากต้องการสลับสถานะให้คลิกเลือกได้จากแถบเมนู ดังภาพ แสดงหรือเปลี่ยนประเภทผู้ใช้

  14. การสร้างห้องเรียน (Add Class) 1. หลักจากคลิกปุ่ม Add Class เพื่อสร้างห้องเรียนแล้ว จะปรากฏหน้าจอให้กรอกรายละเอียดของห้องเรียน ดังนี้ 2. ในช่องของ Class type เลือกประเภทห้องเรียน • Standard Class สำหรับห้องเรียนเดียว ไม่มี Section ย่อย • Master Class สำหรับสร้าง Section ย่อย และมีผู้ช่วยสอน (TA) 3. จากนั้นกรอกรายละเอียดเกี่ยวกับห้องเรียนแล้วคลิกปุ่ม Submit ประเภทห้องเรียน ชื่อห้องเรียน รหัสผ่าน (กำหนดเอง) ขอบเขตวิชา ระดับของผู้สมัคร วันเริ่มต้นห้องเรียน วันปิดห้องเรียน

  15. จะปรากฏหน้าต่าง pop-up แสดงรายละเอียด Class ID และ Enrollment password ประจำห้องเรียน ซึ่งผู้สอนสามารถนำไปแจ้งแก่นักศึกษาเพื่อให้สามารถเข้ามาส่งงานที่ห้องเรียนนี้ได้ คลิกปุ่ม Continue เพื่อปิดหน้าต่าง pop-up และจะพบกับห้องเรียนที่ได้สร้างไว้

  16. ประเภทห้องเรียน สถานะห้องเรียน รหัสห้องเรียน ชื่อห้องเรียน สถิติผลงานในห้องเรียน ตั้งค่าห้องเรียน คัดลอกการสร้างห้องเรียน ลบห้องเรียน รายละเอียดต่างๆของห้องเรียน

  17. การสร้างการบ้าน : Assignment คลิกเข้าไปในห้องเรียนที่สร้างไว้จะปรากฏหน้าจอ คลิกที่ Add Assignment เพื่อเริ่มสร้างการบ้าน  เลือก Paper Assignment เพื่อสร้างการบ้านสำหรับส่งผลงาน

  18. กรอกรายละเอียดของ Paper Assignment ดังนี้ วันประกาศคะแนน

  19. คลิกที่ Optional settings เพื่อตั้งค่าเพิ่มเติม ดังนี้ ** Generate Originality reports for student submissions? กำหนดเงื่อนไขการสร้างรายงาน (Originality report) **1. ส่งไฟล์งานได้ครั้งเดียวและสร้างรายงานทันที 2. ส่งไฟล์งานได้มากกว่า 1 ครั้งจนกว่าจะครบวันกำหนดส่ง และรายงานจะสร้างหลังจากที่ส่งไฟล์งานครั้งที่ 2 อีก 24 ชม. 3. รายงานจะสร้างในวันครบกำหนดส่ง

  20. Submit paper to: กำหนดการตั้งค่าการจัดเก็บไฟล์งานที่ส่งตรวจ 1. จัดเก็บไฟล์ที่ส่งตรวจไว้ในคลังของ Turnitin 2. ไม่จัดเก็บไฟล์งาน ** เลือก no repository (2) Search option: เลือกตรวจเปรียบการคัดลอกไฟล์งานที่ส่งกับแหล่งไหนบ้าง 1. จากคลังข้อมูลของ Turnitin 2. จากข้อมูลปัจจุบันและย้อนหลังบนอินเตอร์เน็ต (5 ปี) 3. จากสื่อสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆของสำพักพิมพ์ เช่น จาก Pubmed, EBSCOBMJ Publishing Group, Elsevier, IEEE, Oxford University Press, Sage, Informa UK (Taylor & Francis), Wiley Blackwell, Springerเป็นต้น

  21. ตัวอย่าง ห้องเรียนที่สร้างการบ้านเรียบร้อยแล้ว ชื่อห้องเรียน ชื่อห้องวิชาและรายละเอียดต่างๆ

  22. การส่งผลงานเข้าตรวจสอบในระบบ (Submit paper) คลิกที่ More action แล้วเลือก Submit paper 1. Edit setting - แก้ไขการตั้งค่า 2. Submit – ส่งผลงานเข้าตรวจสอบในระบบ 3. Delete assignment - ลบวิชานี้

  23. จะปรากฏหน้าจอ ให้กรอกรายละเอียด ดังนี้

  24. ตัวอย่างการส่งงานแบบ Single File Upload( ไฟล์ภาษาไทย PDF)

  25. ข้อควรระวัง !!! • ไฟล์ที่จะ upload ได้ ต้องขนาดไม่เกิน 20 MB จำนวนหน้าไม่เกิน 400 หน้า เป็นไฟล์ Word, WordPerfect, PostScript, PDF, HTML, RTF และ plain text และต้องไม่ติด password หรือเป็น hidden file • ไฟล์ภาษาไทย ควรบันทึกเป็นนามสกุลไฟล์ rtf ใน Microsoft word • ไม่ใช่ไฟล์รูปภาพ • ไม่ใช้ไฟล์สแกน • ระยะเวลาในการประมวลผลขึ้นอยู่กับจำนวนหน้า และรายละเอียดต่างๆ ซึ่งไฟล์ภาษาไทยอาจใช้ระยะเวลาในการประมวลผลนานกว่าปกติ

  26. ผล – สามารถตรวจสอบการคัดลอกได้ คลิกที่เปอร์เซ็นต์เพื่อดูผลการตรวจสอบ

  27. สีและเปอร์เซนต์พบข้อความซํ้าสีและเปอร์เซนต์พบข้อความซํ้า • สีแดง 75 – 100% • สีส้ม 50 – 74% • สีเหลือง 25 – 49% • สีเขียว 1 – 24% • สีน้ำเงิน ไม่พบข้อความซ้ำ

  28. ผลการตรวจสอบ การออกรายงานต้นฉบับ (Originally report) เปอร์เซ็นต์ของการคัดลอกเนื้อหาของไฟล์ที่ส่งตรวจ แสดงรายการแหล่งข้อมูลที่ไฟล์งานมีจำนวนคำ ประโยค เนื้อหา ที่ซ้ำกันหรือตรงกันเป็นเปอร์เซ็นต์ในแต่ละแหล่งข้อมูล ตัวเลขและคำ หรือข้อความที่เน้นเป็นสีต่างๆ แสดงถึงความเหมือนของข้อความของไฟล์งานกับแหล่งข้อมูลนั้น

  29. Exclude Source: การกรองผลเทียบซ้ำ • เนื่องจากการตรวจสอบด้วย Turnitinเป็นเพียงการตรวจสอบ “ความเหมือน” ของข้อความเทียบซ้ำแบบคำต่อคำ ทำให้ข้อความบางข้อความ ยกตัวอย่างเช่น ชื่อเฉพาะ ชื่อมหาวิทยาลัย ชื่อปริญญา หรืออื่นๆ ที่มีในแหล่งตรวจสอบของระบบก็จะนับเป็นการซ้ำ อย่างไรก็ตามสามารถเลือกกรองผลค้นให้ยกเว้นคาเหล่านั้นได้ ดังนี้

  30. 1. เอาเม้าส์ไปชี้ที่เปอร์เซนต์Match Overview ที่ต้องการจะกรองออก จะปรากฏสัญลักษณ์ ให้คลิก

  31. 2. หลังจากนั้นระบบจะแสดงข้อความที่ซ้ำนั้นเป็นแถบสีพร้อมบอกแหล่งที่มา ให้เลือกที่คำสั่ง Exclude Source

  32. 3. จะปรากฏ Check box ให้เลือกว่าต้องการกรองเอาแหล่งข้อมูลใดออกบ้าง จากนั้นคลิกคำสั่ง Exclude

  33. 4. จากนั้นจะพบว่าเปอร์เซ็นต์การเทียบซ้ำลดลง

  34. สามารถเลือกดูแบบ Text-Only Report ได้โดยคลิกคำสั่งมุมล่างขวา ดังนี้ จะปรากฏหน้าจอแสดงรายงานต้นฉบับ ดังภาพ

  35. มุมมองการดูผลแบบสรุป

  36. การ Exclude จากวิธีอื่นๆ

  37. ตัวอย่างผลการ Exclude

  38. มุมมองการดูผลการตรวจสอบมุมมองการดูผลการตรวจสอบ

  39. เมื่อกลับเข้าสู่หน้า Assignment จะปรากฏระดับการคัดลอกที่ลดลงจากการ Exclude เลือก Submit File เมื่อต้องการส่งไฟล์เพิ่มเติม

  40. การบันทึกรายงานหรือสั่งพิมพ์รายงานต้นฉบับ หากต้องการบันทึกรายงานในรูปแบบเอกสารที่พร้อมสำหรับการ สั่งพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ ให้คลิกที่ปุ่มสั่งพิมพ์รายงานที่มุมด้านล่างซ้าย เลือกคำสั่ง Download PDF of current view for printing

  41. ตัวอย่างไฟล์ PDF ของรายงานต้นฉบับ

  42. การบันทึกรายงานแบบ Download PDF of Digital Receipt for printing

  43. ตัวอย่างผล Download PDF of Digital Receipt for printing

  44. การใช้งานในสถานะนักศึกษา (student) ขั้นตอนการใช้งาน Turnitin (Students) 1. การใช้งานครั้งแรกให้ทำการลงทะเบียนก่อน ส่วนการใช้งานครั้งต่อไป ใช้ e-mail และ password ที่กำหนดเมื่อตอนลงทะเบียนในการเข้าใช้ 2. ส่งผลงาน หรือบทความวิชาการเข้าไปตรวจ (Submit Paper) 3. ดูผลการตรวจและนำผลการตรวจให้อาจารย์ที่ปรึกษาพิจารณา

  45. การลงทะเบียนใช้งาน ในสถานะนักศึกษา (student) การลงทะเบียนใช้งาน ในสถานะนักศึกษา คลิกเลือกสถานะผู้ใช้เป็น student

  46. กรอก Class ID/ Enrollment password ที่ต้องการเข้าร่วม โดยพิมพ์ Class ID ที่ได้รับจากอาจารย์ผู้สอนประจำวิชา พิมพ์รหัส Enrollment passwordที่ได้รับ จากนั้นก็กรอกรายละเอียดต่างๆลงไป

  47. 1. พิมพ์ชื่อ (first name) และนามสกุล (last name) 2. พิมพ์ e-mail address 3. กำหนดรหัสผ่าน (enter your password) และยืนยัน รหัสผ่าน (confirm password) - รหัสผ่าน มีจำนวน 6-12 ตัว เป็นตัวเลขและตัวอักษรผสมกันตัวเล็กตัวใหญ่ต่างกัน 4. เลือกคำถาม(ใช้ในกรณีลืมรหัสผ่าน) และพิมพ์ตอบของคำถาม 5. คลิก I agree create profile

More Related