1 / 28

ภูมิใจเสนอ “ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม ปี 2549”

ภูมิใจเสนอ “ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม ปี 2549”. กองทุนเงินทดแทน (เนื่องจากการทำงาน). กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย กรณีสูญเสียอวัยวะ กรณีทุพพลภาพ กรณีเสียชีวิตหรือสูญหาย. กองทุนประกันสังคม ( ไม่เนื่องจากการทำงาน ). ลูกจ้าง + นายจ้าง + รัฐบาล. เจ็บป่วย คลอดบุตร

Télécharger la présentation

ภูมิใจเสนอ “ สิทธิประโยชน์ประกันสังคม ปี 2549”

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภูมิใจเสนอ “สิทธิประโยชน์ประกันสังคม ปี 2549”

  2. กองทุนเงินทดแทน (เนื่องจากการทำงาน) • กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย • กรณีสูญเสียอวัยวะ • กรณีทุพพลภาพ • กรณีเสียชีวิตหรือสูญหาย

  3. กองทุนประกันสังคม ( ไม่เนื่องจากการทำงาน ) ลูกจ้าง + นายจ้าง + รัฐบาล • เจ็บป่วย • คลอดบุตร • ทุพพลภาพ • เสียชีวิต 1.5 % กองประสานการแพทย์ฯ 0-2956-2504-6

  4. โรคที่ไม่อยู่ในข่ายความคุ้มครองโรคที่ไม่อยู่ในข่ายความคุ้มครอง 1. โรคจิต ยกเว้นกรณีเฉียบพลันซึ่งต้องรักษาในทันที และระยะเวลารักษาไม่เกิน 15 วัน 2. โรคหรือการประสบอันตราย อันเนื่องมาจากการใช้สารเสพติดตามกฎหมาย ว่าด้วยยาเสพติด 3. โรคเดียวกันซึ่งต้องใช้ระยะเวลารักษาตัวในโรงพยาบาลประเภทคนไข้ใน เกิน 180 วัน ในหนึ่งปี 4. การบำบัดทดแทนไตกรณีไตวายเรื้อรัง ยกเว้น ก) กรณีไตวายเฉียบพลัน ที่มีระยะเวลาการรักษาไม่เกิน 60 วัน ให้มีสิทธิได้รับค่าบริการทางการแพทย์ ข) กรณีเจ็บป่วยด้วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย มีสิทธิได้รับการฟอกเลือด ด้วยเครื่องไตเทียม วิธีการล้างช่องท้องด้วยน้ำยาอย่างถาวร และ วิธีการปลูกถ่ายไต

  5. โรคที่ไม่อยู่ในข่ายความคุ้มครองโรคที่ไม่อยู่ในข่ายความคุ้มครอง 5. การกระทำใดๆ เพื่อความสวยงาม โดยไม่มีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ 6. การรักษาที่ยังอยู่ในระหว่างการค้นคว้าทดลอง 7. การรักษาภาวะมีบุตรยาก 8. การตรวจเนื้อเยื่อเพื่อการผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้น การปลูกถ่ายไขกระดูก 9. การตรวจใดๆ ที่เกินความจำเป็นในการรักษาโรคนั้น 10. การผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ยกเว้นการปลูกถ่ายไขกระดูก ปลูกถ่ายไต การเปลี่ยนอวัยวะกระจกตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด 11. การเปลี่ยนเพศ 12. การผสมเทียม 13. การบริการระหว่างการรักษาตัวแบบพักฟื้น 14. ทันตกรรมยกเว้นถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน และใส่ฟันเทียมฐานอคลิลิก 15. แว่นตา

  6. เจ็บป่วย แบ่งเป็น 3 กรณี 1. เจ็บป่วยปกติ 2. เจ็บป่วยฉุกเฉิน 3. อุบัติเหตุ

  7. เจ็บป่วยฉุกเฉิน รักษาสถานพยาบาลที่มีแพทย์แผนปัจจุบันชั้น 1 รักษาสถานพยาบาลที่มีแพทย์แผนปัจจุบันชั้น 1 ทดรองจ่ายค่ารักษา ขอใบรับรองแพทย์ / ใบเสร็จค่ารักษาพยาบาล เบิกเงินคืนได้ตามประกาศของ สำนักงานประกันสังคมกำหนด

  8. กรณีเจ็บป่วยฉุกเฉิน 0 ผู้ป่วยนอกและผู้ป่วยใน ประเภทละไม่เกิน 2 ครั้งต่อปี กรณีประสบอันตราย 0 • ไม่จำกัดจำนวนครั้ง

  9. เงินทดแทนการขาดรายได้ (กรณีเจ็บป่วย) ร้อยละ 50 ของค่าจ้าง ครั้งละไม่เกิน 90 วัน ปีละไม่เกิน 180 วัน ยกเว้นโรคเรื้อรังไม่เกิน 365 วัน

  10. กรณีคลอดบุตร ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับ คนละ 2 ครั้ง ผู้ประกันตนหญิง - ค่าคลอดบุตร เหมาจ่าย 6,000 บาท - เงินสงเคราะห์การหยุดงานเพื่อการคลอดบุตร เหมาจ่าย 50% ของค่าจ้างเฉลี่ยเป็นเวลา 90 วัน ผู้ประกันตนชาย - ค่าคลอดบุตร เหมาจ่าย 6,000 บาท

  11. กรณีสงเคราะห์บุตร 1. ส่งเงินสมทบ 12 เดือน 2. อายุบุตร แรกเกิด - 6 ปีบริบูรณ์ 3. เดือนละ 350 บาท 4. เบิกคราวละไม่เกิน 2 คน

  12. ธนาคาร กรุงศรีอยุธยา ธนาคารกรุงเทพ รายชื่อธนาคาร ธนาคาร ทหารไทย ธนาคาร กสิกรไทย ธนาคาร ไทยพาณิชย์ ธนาคาร กรุงไทย

  13. บุตรที่ได้รับสิทธิเสียชีวิตบุตรที่ได้รับสิทธิเสียชีวิต สิ้นสภาพการเป็นผู้ประกันตน บุตรบุญธรรม บุตรอายุเกินเกณฑ์ที่กำหนด กรณีหมดสิทธิ

  14. กรณีทุพพลภาพ ตาย - ได้รับเงินทดแทนการขาดรายได้ 50% ของค่าจ้าง เป็นรายเดือนตลอดชีวิต - ได้รับค่าบริการทางการแพทย์ ไม่เกินเดือนละ 2,000 บาท • รับค่าทำศพ 30,000 บาท • ทายาทได้รับเงินสงเคราะห์กรณีตาย

  15. กรณีตาย ผู้จัดการศพรับค่าทำศพ 30,000 บาท ทายาทมีสิทธิได้รับเงินสงเคราะห์กรณีตาย จ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 3 ปี แต่ไม่ถึง 10 ปี ได้รับ=ค่าจ้างหนึ่งเดือนครึ่ง จ่ายเงินสมทบ 10 ปีขึ้นไป ได้รับ= ค่าจ้าง 5 เดือน

  16. ประกันกรณีว่างงาน เงื่อนไข 1. ส่งเงินสมทบไม่น้อยกว่า 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือน (เริ่ม มกราคม 2547) 2. ไม่เป็นผู้ประกันตนตาม มาตรา 39 และเป็นผู้รับ กรณีชราภาพ

  17. ประกันกรณีว่างงาน • ขึ้นทะเบียน สำนักงานจัดหางานของรัฐ 30 วัน * ผู้ถูกเลิกจ้าง * 50% ของค่าจ้าง ไม่เกิน 180 วัน * ผู้สิ้นสุดสัญญาจ้างหรือลาออก * 30% ของค่าจ้าง ไม่เกิน 90 วัน

  18. กองทุนประกันสังคม ( ไม่เนื่องจากการทำงาน ) ลูกจ้าง + นายจ้าง + รัฐบาล • เจ็บป่วย • คลอดบุตร • ทุพพลภาพ • เสียชีวิต 1.5 % กองประสานการแพทย์ฯ 0-2956-2504-6

  19. การประกันตนเอง มาตรา 39 สำหรับผู้ประกันตนที่ออกจากงาน เงื่อนไข : • ส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน • สมัครภายใน 6 เดือน • เดือนละ 432 บาท / เดือน (4,800 X 9%) ประกัน = 144 เงินฝาก = 288 ** ได้รับสิทธิประโยชน์6 กรณี **

  20. ชราภาพ เงื่อนไข : • อายุครบ 55 ปี • ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง การรับเงิน : • ส่งเงินสมทบไม่ครบ 180 เดือน (บำเหน็จ) • ส่งเงินสมทบครบ 180 เดือน (บำนาญ)

  21. เงินบำนาญชราภาพ • ส่งเงินสมทบ ครบ 180 เดือน • ไม่ว่าระยะเวลา 180 เดือนจะติดต่อกันหรือไม่ก็ตาม • มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ และ • ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง

  22. คำนวณเงินบำนาญชราภาพ = ค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย คูณด้วย 15% ( + จำนวน % ที่เพิ่มให้อีกปีละ 1% ) กรณีจ่ายเงินสมทบเกินกว่า 180 เดือน ให้ปรับเพิ่มอีกร้อยละ 1 ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบครบทุก 12 เดือน

  23. เมื่อผู้รับบำนาญเสียชีวิตเมื่อผู้รับบำนาญเสียชีวิต - ระงับการจ่ายเงินบำนาญในเดือนถัดไป - ตายภายใน 60 เดือน ทายาทจะได้รับบำนาญ ตกทอด 10 เท่า ของบำนาญรายเดือนที่ได้รับ ครั้งสุดท้าย

  24. บำนาญชราภาพ ตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งปัจจัยด้านมาตรฐานการครองชีพ

  25. เงินบำเหน็จชราภาพ • ส่งเงินสมทบ ไม่ครบ 180 เดือน • มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ และ • ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง หรือ • เป็นผู้ทุพพลภาพ หรือถึงแก่ความตาย

  26. คำนวณเงินบำเหน็จชราภาพคำนวณเงินบำเหน็จชราภาพ 1. กรณีจ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 1 - 11 เดือน = เงินสมทบของผู้ประกันตนฝ่ายเดียว 2. กรณีจ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 12 - 179 เดือน = เงินสมทบของผู้ประกันตน + เงินสมทบของนายจ้าง + ผลประโยชน์ตอบแทน

  27. การจ่ายเงินสมทบกรณีชราภาพรูปแบบบำเหน็จการจ่ายเงินสมทบกรณีชราภาพรูปแบบบำเหน็จ อัตราเงินสมทบในการคำนวณเงินบำเหน็จชราภาพ อัตราเงินสมทบ ปี ผลประโยชน์ตอบแทน ผู้ประกันตน นายจ้าง 2542 1 % 1 % 2 . 4 2543 2 % 2 % 3 . 7 2544 2 % 2 % 4 . 2 4 3 . 2545 2 % 2 % 2546 3 % 3 % . 6 5 . 2 0 2547 3 % 3 % 3 9 . 2548 3 % 3 %

  28. Q / A Thank you...

More Related