1.21k likes | 1.81k Vues
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ Comparative Local Government (รหัส 002724). โดย รองศาสตราจารย์ ดร. โกวิทย์ พวงงาม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เอกสารประกอบการบรรยายนักศึกษาระดับปริญญาโท วิชา การ ปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบ Comparative Local Government (002724)
E N D
เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบComparative Local Government (รหัส 002724) โดย รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เอกสารประกอบการบรรยายนักศึกษาระดับปริญญาโท วิชา การปกครองท้องถิ่นเปรียบเทียบComparative Local Government (002724) หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผู้บรรยาย รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม ห้อง 517 ชั้น 5 คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ โทรศัพท์ 02-6132519 E-mail : ko_wit517@hotmail.com
แนวสังเขปลักษณะวิชา • ศึกษาและอภิปรายแนวคิดการปกครองท้องถิ่น • วิวัฒนาการของการปกครองท้องถิ่น • รูปแบบการจัดองค์กรปกครองท้องถิ่นในประเทศและต่างประเทศ • การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบันและทิศทางแนวโน้มการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นในอนาคต
วัตถุประสงค์ของวิชา • มีความรู้ความเข้าใจ ความสำคัญ แนวคิด ทฤษฏี หลักกระจายอำนาจ และการปกครองท้องถิ่น • เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ รัฐบาลกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โครงสร้างองค์กรปกครองท้องถิ่น อำนาจหน้าที่ในการบริหารจัดการ • วิเคราะห์เปรียบเทียบกับการปกครองท้องถิ่นไทยกับต่างประเทศ • สามารถวิเคราะห์การปกครองท้องถิ่นไทยในปัจจุบันตามรัฐธรรมนูญและทิศทางแนวโน้มการปกครองท้องถิ่นไทยในอนาคต
หัวข้อ เนื้อหาวิชาโดยสังเขป • ความสำคัญและแนวคิดการกระจายอำนาจและการปกครองท้องถิ่น • ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารราชการ ส่วนกลาง หลักการรวมอำนาจ หลักการแบ่งอำนาจ และการกระจายอำนาจ • การปกครองส่วนท้องถิ่น รูปแบบ การจัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไทยและต่างประทศ • วิเคราะห์เปรียบเทียบการปกครองท้องถิ่นไทยกับต่างประทศ • อภิปรายการปกครองท้องถิ่นไทยกับทิศทางการปกครองท้องถิ่นไทยในอนาคต
การเมืองการปกครองท้องถิ่นการเมืองการปกครองท้องถิ่น รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แนวคิดการปกครองท้องถิ่นแนวคิดการปกครองท้องถิ่น การปกครองท้องถิ่นไทย เปรียบเทียบการปกครองท้องถิ่นไทยกับต่างประเทศ ความร่วมมือระหว่างท้องถิ่นไทยและต่างประเทศ
แนวคิดการปกครองท้องถิ่น • รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม • คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ • มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แนวคิดการปกครองท้องถิ่นแนวคิดการปกครองท้องถิ่น • ประชาธิปไตยท้องถิ่น เป็นการปกครองตนเองของประชาชน (Self-government Democracy) • ประชาธิปไตยท้องถิ่นจะต้องสร้างพลเมือง (Citizen) International Institute for Democracy and Electoral Assistance (IDEA,2001) • สถาบันการปกครองท้องถิ่น / องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (Institution of Local Government) • องค์กรภาคประชาสังคม (Civil Society)
แนวคิดการปกครองท้องถิ่นแนวคิดการปกครองท้องถิ่น David Mathews : Politics of the People • ประชาธิปไตยต้องมีการปกครอง ของประชาชนมากที่สุด • รื้อฟื้นความคิด อุดมการณ์ปกครองตนเอง
แนวคิดประชาธิปไตยท้องถิ่นแนวคิดประชาธิปไตยท้องถิ่น Robert Dahl / Bookchin ประชาธิปไตยที่แท้จริงเกิดได้ในเมืองเล็กๆ ขนาดย่อม อาศัยหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหา ร่วมทำประโยชน์ให้บ้านเมืองโดยประชาชนเอง
Plato : ประชาธิปไตยท้องถิ่น • Plato’s Republic • The Law : Citizen
การปกครองท้องถิ่น อปท. สถาบัน Institution สภาท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น ข้าราชการส่วนท้องถิ่น และพนักงานท้องถิ่น การส่วนร่วม การส่วนร่วม ภาคพลเมือง (Civil Society) การตรวจสอบ/กำกับดูแล
ทำไมต้องมีการปกครองท้องถิ่น ? การปกครองท้องถิ่นเป็นความจำเป็นในระบอบประชาธิปไตย 1 เป็นรากฐานประชาธิปไตย 2 เป็นการฝึกหัดความเป็นประชาธิปไตย ความรับผิดชอบ (Accountability) การมีส่วนร่วมของประชาชน (Politics of The People) การรู้จักสิทธิหน้าที่ และเคารพความคิดเห็น เวทีสร้างการเมืองระดับชาติ 3 เป็นการแบ่งเบาภาระรัฐบาลกลาง
เราจะจัดการปกครองท้องถิ่นอย่างไร ? • พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับท้องถิ่น • พิจารณารูปแบบของ อปท. • พิจารณาระบบ Tier System การจัดชั้นของท้องถิ่น • พิจารณาการจัดโครงสร้างภายใน อปท. แบบที่ประชุมเมือง : Town Meeting แบบสภา-นายกเทศมนตรี :The Council – Manager Form แบบนายกเทศมนตรีอ่อนแอ : Weak Mayor Form แบบนายกเทศมนตรีเข้มแข็ง :The Strong Mayor Form แบบคณะกรรมการ : Commission Form แบบผู้จัดการเมือง : City Manager Form
แนวคิดเรื่องการมีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็นกระบวนการ (Process) การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็นการตัดสินใจ (Decision Making) การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder)
การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็นกระบวนการ (Process) Major kinds of Participation (Cohen and Uphoff) ดำเนินการตัดสินใจ ดำเนินกิจกรรม รับผลประโยชน์ ประเมินผล
การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็นกระบวนการ (Process) ไพรัตน์ เตชะรินทร์ / เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง กระบวนการส่งเสริม และเปิดโอกาส ร่วมคิด ร่วมวางแผน ดำเนินโครงการ กิจกรรม ควบคุม ตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผล ร่วมปฏิบัติ ร่วมลงทุน
การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็นการตัดสินใจการมีส่วนร่วมมุมมองในมิติเป็นการตัดสินใจ (Decision Making) กระบวนการมีส่วนร่วม (Process) Wertheim / Lisk กำหนดความต้องการ การเข้าไปมีส่วนร่วม ในการตัดสินใจทุกระดับ กำหนดนโยบาย การบริหารจัดการ อำนาจบุคคล กลุ่ม องค์กร
การมีส่วนร่วมมุมมองในมิติผู้มีส่วนได้เสีย (Stakeholder) ร่วมรับผลประโยชน์ร่วม การใช้ทรัพยากร ลงทุนและลงแรง สิทธิและหน้าที่จะร่วมแก้ไขปัญหา ร่วมรับผิดชอบร่วม ร่วมรับผลกระทบร่วม การทำประชาพิจารณ์ การแสดงประชามติ
สูง การควบคุมโดยประชาชน ร่วมติดตามตรวจสอบ จำนวนประชาชนที่เข้าร่วม การร่วมปฏิบัติ ระดับการมีส่วนร่วม การวางแผน / การตัดสินใจร่วมกัน การปรึกษาหารือ การเปิดรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน / ให้ข้อมูล การรับข้อมูล ต่ำ ระดับการมีส่วนร่วม (1)
มีโอกาสตัดสินใจด้วยตนเองมีโอกาสตัดสินใจด้วยตนเอง มีส่วนร่วมสูงที่สุด มีโอกาสเสนอโครงการ มีส่วนร่วมสูง มีโอกาสเสนอความเห็น มีส่วนร่วมปานกลาง ถูกสัมภาษณ์ความต้องการ ถูกชักชวน มีส่วนร่วมน้อย ถูกหลอก ถูกบังคับ ไม่มีส่วนร่วมเลย ระดับการมีส่วนร่วม (2)
สถานการณ์การมีส่วนร่วมใน อปท. ประชาชนมีส่วนร่วมเพียงรูปแบบ 1 รูปแบบการออกระเบียบฯให้มีส่วนร่วม 2 รูปแบบการถูกระดมให้มีส่วนร่วม รูปแบบความเกรงใจ ขอไปที 3 วาทกรรมการมีส่วนร่วม
ระเบียบ คำสั่ง กำหนดให้มีส่วนร่วม • ระเบียบการจัดทำแผนพัฒนา อปท. ผู้แทนประชาคม แต่งตั้งเป็น คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่น • ระเบียบว่าด้วยการพัสดุ ผู้แทนประชาคม แต่งตั้งเป็น คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา คณะกรรมการจัดซื้อ คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ
การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ กรณี อปท. หลักการตรวจสอบตามรัฐธรรมนูญฯ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
การกำกับดูแล • กำกับดูแลเท่าที่จำเป็น • กำกับดูแลตามที่กฎหมายกำหนดไว้ • กำกับดูแลเพื่อคุ้มครองประโยชน์ประชาชน • กำกับดูแลโดยองค์การบริหาร (การกำกับดูแลทางการคลัง , การกำกับดูแลงบประมาณ)
กำกับดูแลโดยผู้มีอำนาจเหนือ • ส่วนกลาง ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ กำกับดูแลโดยประชาชน • มาตรา 285 เข้าถอดถอน • มาตรา 284 ออกเสียงประชามติ
กรณีตรวจสอบการทุจริตโดยภาคประชาชนกรณีตรวจสอบการทุจริตโดยภาคประชาชน ประเทศเกาหลีใต้
กรณีตรวจสอบการทุจริตโดยภาคประชาชนกรณีตรวจสอบการทุจริตโดยภาคประชาชน ผลงาน P S D P รณรงค์หาทุน ต่อต้านการทุจริต สร้าง Open System FOR PARTICIPATORY SOLIDARITY PEOPLE’S DEMOCRACY เผยแพร่ข้อมูล
PSPD: People’s Solidarity for Participatory Democracy • Participation of Citizens • Solidarity of Citizens • Civil Watch • Alternative
การปกครองท้องถิ่นไทย • รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม • คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ • มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ศ.2475 การเมืองการปกครอง ก่อนการเปลี่ยนแปลง รัชกาลที่ 5 ทรงริเริ่มให้ประชาชนในท้องถิ่นร่วมกับรัฐ ดูแลกิจการรักษาความสงบเรียบร้อยของหมู่บ้าน ตำบล พ.ร.บ.ปกครองท้องถิ่น ร.ศ.116 (พ.ศ.2440) มีการเลือกผู้นำตามธรรมชาติเป็น “ผู้ใหญ่บ้าน” และให้ผู้ใหญ่บ้านเลือก “กำนัน” กันเอง พ.ร.บ.ลักษณะปกครองท้องที่ พ.ศ.2457 รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
พ.ศ.2475 การเมืองการปกครอง ก่อนการเปลี่ยนแปลง รัชกาลที่ 5 พ.ศ. 2441 ร่วมจัดตั้งสุขาภิบาลเขตเมือง “สุขาภิบาลกรุงเทพฯ” ร.ศ.124 (พ.ศ.2448) ทรงสนับสนุนให้ราษฎรร่วมจัดตั้ง “สุขาภิบาลท่าฉลอม” ณ ตำบลท่าฉลอม จ.สมุทรสาคร (หัวเมือง) ร.ศ.127 (พ.ศ.2451) ทรงตรา พ.ร.บ.จัดการสุขาภิบาล รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
พ.ร.บ.จัดการสุขาภิบาล ร.ศ.127 โดยมีจุดมุ่งหมาย ....ให้ราษฎรในท้องถิ่นช่วยกันบริหารดำเนินงานเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของบ้านเมือง ถนนหนทาง ตลาด และอื่นๆในท้องถิ่น การป้องกันและรักษาโรคภัยไข้เจ็บแก่ราษฎร การดูแลรักษาทางสัญจรไปมา การศึกษาขั้นต้นของราษฎร..... แบ่งสุขาภิบาล เป็น 2 ประเภท สุขาภิบาลเมือง ในเขตเมือง ที่ตั้งของศาลากลางจังหวัด สุขาภิบาลท้องที่ ในเขตตำบล สรุป ทรงวางรากฐานการปกครองตนเองของชุมชน รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
พ.ศ.2475 การเมืองการปกครอง ก่อนการเปลี่ยนแปลง รัชกาลที่ 6 พ.ศ.2453 - 2468 จัดตั้งสภาประชาธิปไตยระดับชาติเรียกว่า “ดุสิตธานี” และสร้างขบวนการลูกเสือ สภาพของสุขาภิบาล และการปกครองท้องถิ่น นิ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
พ.ศ.2475 การเมืองการปกครอง ก่อนการเปลี่ยนแปลง รัชกาลที่ 7 ....ข้าพเจ้าเห็นว่า สิทธิเลือกตั้งของประชาชน ควรจะเริ่มต้นที่การปกครองท้องถิ่นในรูปแบบเทศบาล ประชาชนควรมีสิทธิมีเสียงในกิจการท้องถิ่น ข้าพเจ้าเห็นว่า เป็นการผิดพลาด ถ้าเราจะมีการปกครองระบบรัฐสภา ก่อนที่ประชาชนจะมีโอกาสเรียนรู้และมีประสบการณ์อย่างดีเกี่ยวกับการใช้สิทธิเลือกตั้งในกิจการปกครองท้องถิ่น..... รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
พ.ศ.2475 การเมืองการปกครอง ก่อนการเปลี่ยนแปลง รัชกาลที่ 7 ทรงสนพระทัยรูปแบบการปกครองตนเองแบบ “เทศบาล” ให้มีการยกร่างกฎหมายจัดตั้ง “เทศบาล” ยกระดับสุขาภิบาลเป็น “เทศบาล” ทั้งหมด สรุปการเมืองการปกครองไทย หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นแบบ “อำมาตยาธิปไตย” (Bureaucratic Policy)ข้าราชการประจำมีบทบาทมาทางการเมือง รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
การเมืองการปกครอง การปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2476 คณะราษฎรมีนโยบายในการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น ผ่าน พ.ร.บ.จัดระเบียบเทศบาล แบ่งเทศบาลออกเป็น 3 แบบ คือ เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตำบล แบ่งเทศบาลออกเป็น 2 องค์กร คือ สภาเทศบาล และคณะเทศมนตรี รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
การเมืองการปกครอง การปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2495 จอมพล ป.พิบูลสงคราม นำเอารูปแบบสุขาภิบาลมาใช้อีกครั้ง ผ่าน พ.ร.บ. สุขาภิบาล พ.ศ.2495 • กำหนดหลักเกณฑ์ • เป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอหรือกิ่งอำเภอ หรือ • ชุมชนที่มีตลาดการค้า 100 ห้อง มีราษฎรอย่างน้อย 1,500 คน • กรรมการบริหารประกอบด้วย • กรรมการโดยตำแหน่ง • กรรมการโดยการแต่งตั้ง • กรรมการโดยการเลือกตั้ง ให้นายอำเภอเป็นประธานคณะกรรมการสุขาภิบาล ให้ปลัดอำเภอคนหนึ่งเป็นปลัดสุขาภิบาล รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
การเมืองการปกครอง การปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2498-2499 พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการส่วนจังหวัด (อบจ.) พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการส่วนตำบล (อบต.) รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
การเมืองการปกครอง การปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2509 รัฐบาล จอมพล ถนอม กิตติขจร ยุบ อบต. ตั้งคณะกรรมการสภาตำบลขึ้นแทน • กรรมการบริหารประกอบด้วย • กรรมการโดยตำแหน่ง คือ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และแพทย์ประจำตำบล • กรรมการโดยการแต่งตั้ง คือ ครู ซึ่งนายอำเภอแต่งตั้ง • กรรมการโดยการเลือกตั้ง คือ ราษฎรจากหมู่บ้านละ 1 คน รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
การเมืองการปกครอง การปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2515 ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 335 รวมเทศบาลกรุงเทพกับเทศบาลธนบุรีเข้าด้วยกันกลายเป็น “กรุงเทพมหานคร”(กทม.) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมาจากการแต่งตั้งมีวาระ 4 ปี ผู้ว่าราชการกรุงเทพฯ มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนในปี พ.ศ.2521 รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
การเมืองการปกครอง การปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2521 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษครั้งแรก ตรา “พระราชบัญญัติเมืองพัทยา” • การบริหารเมืองพัทยา แบ่งออกเป็น 2 องค์กร • สภาเมืองพัทยา • ฝ่ายบริหารสภาเมืองพัทยา • มีสมาชิก 2 ประเภทได้แก่ • ประเภทเลือกตั้ง • ประเภทแต่งตั้ง • “นายกเมืองพัทยา” มาจากเลือกตั้งของสมาชิก • “ปลัดเมืองพัทยา” มาจากการแต่งตั้งโดยสภาเมืองพัทยา รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
การเมืองการปกครอง การปกครอง หลังการเปลี่ยนแปลง พ.ศ.2535-2539 สังคมไทยเริ่มตื่นตัวในนโยบายการปรับปรุง การปกครองท้องถิ่น โดยรัฐบาลและกระทรวงมหาดไทยได้ดำเนินการสำคัญ 5 ประการได้แก่ • ให้สมาชิกสภาจังหวัด(สจ.)เลือกนายก อบจ. • สตรีสามารถดำรงตำแหน่งปลัดอำเภอคนแรกได้ในปี พ.ศ.2536 • สตรีสามารถดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการได้คนแรกในปี พ.ศ.2537 • รัฐบาลเสนอร่าง พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล • สตรีสามารถดำรงตำแหน่งนายอำเภอคนแรกในปี พ.ศ.2539 รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
การเมืองการปกครอง พ.ศ.2540 หลังรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540-2542 • ออก พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540 • ออก พ.ร.บ. ยกเลิก พ.ร.บ. สุขาภิบาล พ.ศ.2495 • ออก พ.ร.บ.เปลี่ยนแปลงฐานะสุขาภิบาลเป็นเทศบาล พ.ศ.2542 • แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.2537 ด้านโครงสร้างสมาชิกและการบริหาร • แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540 ในการเพิ่มอำนาจหน้าที่ อบจ. • แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2536 กำหนดการเลือกตั้งและวาระของนายกเทศมนตรี • ออก พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
การเมืองการปกครอง พ.ศ.2540 หลังรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2543-2546 กฎหมายที่กำหนดทิศทางของ อปท.ตามรัฐธรรมนูญ 2540 • พ.ร.บ.กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 • พ.ร.บ.ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 • พ.ร.บ.ว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พ.ศ.2542 • พ.ร.บ.ว่าด้วยการลงคะแนนเสียงเพื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2542 • พ.ร.บ.การเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ.2545 • ปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ.ต่างๆ ให้ผู้บริหารท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้งโดยตรงของประชาชนและไม่เกิน 2สมัย รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
การเมืองการปกครอง พ.ศ.2550 ตามรัฐธรรมนูญ 1. ประเด็นหลักความเป็นอิสระแก่ท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นว่าเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทำบริการสาธารณะโดยรัฐมีหน้าที่ส่งเสริมการดำเนินการให้มีความอิสระ 2. ประเด็นการกำกับดูแลท้องถิ่น (มาตรา 282) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องกำหนดมาตรฐานกลาง 3. ประเด็นการกำหนดการส่งเสริมและช่วยเหลือให้ อปท. มีความเข้มแข็งในการบริหารงาน รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University
การเมืองการปกครอง พ.ศ.2550 ตามรัฐธรรมนูญ 4. ประเด็นโครงสร้าง อปท.(มาตรา 284) 5.ประเด็นอำนาจหน้าที่ของ อปท. (มาตรา 283)และตาม พ.ร.บ. กำหนดแผนฯ 6. ประเด็นการจัดเก็บภาษีและรายได้ (มาตรา 283) 7. ประเด็นเรื่องการบริหารงานบุคคลของ อปท. (มาตรา 288) 8. ประเด็นเรื่องการมีส่วนร่วมของประชาชน (มาตรา 285 - 286) การเข้าชื่อถอดถอนสมาชิกสภาท้องถิ่นและผู้บริหารท้องถิ่น การเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการบริหาร อปท. รองศาสตราจารย์ ดร.โกวิทย์ พวงงาม Assoc.Prof.Dr. Kowit Puang-ngam มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ Thammasat University