1 / 41

Environmental Awareness

Environmental Awareness. เมื่อสิ่งมีชีวิตอื่นได้รับผลกระทบ. ปลายศตวรรษที่ 18 จำนวนประชากรของมนุษย์เพิ่มมากขึ้นจนทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอื่น และทำให้มนุษย์ได้ตระหนักถึงการเปลี่ยนของสภาพแวดล้อม และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับตัวเอง เริ่มมีการจัดตั้งพื้นที่อนุรักษ์. Great Auk.

sabina
Télécharger la présentation

Environmental Awareness

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Environmental Awareness

  2. เมื่อสิ่งมีชีวิตอื่นได้รับผลกระทบเมื่อสิ่งมีชีวิตอื่นได้รับผลกระทบ • ปลายศตวรรษที่ 18 จำนวนประชากรของมนุษย์เพิ่มมากขึ้นจนทำให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอื่น และทำให้มนุษย์ได้ตระหนักถึงการเปลี่ยนของสภาพแวดล้อม และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับตัวเอง • เริ่มมีการจัดตั้งพื้นที่อนุรักษ์ Great Auk 1872Yellow stone

  3. Pollution • มนุษย์เริ่มให้ความสำคัญกับปัญหามลพิษหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เมื่อมีการปนเปื้อนของสารกัมมันตภาพรังสีจากการทดลองและการใช้อาวุธนิวเคลียร์

  4. Pollution • จากนั้นในอังกฤษได้เกิดเหตุการณ์ Great smog ในเดือนธันวาคม ปี 1952 ซึ่งส่งผลให้ในสัปดาห์ถัดมามีคนตายถึง 4000คน • เหตุการณ์ครั้งนี้เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้ ถ่านหินคุณภาพต่ำจำนวนมาก ทั้งใน อุตสาหกรรมและครัวเรือน

  5. มลพิษ กับ จิตสำนึก • DDT (dichlorodiphenyltrichloro-ethane) • สังเคราะห์ขึ้นครั้งแรกในปีค.ศ. 1940 • ใช้เป็นยาฆ่าแมลง มีประสิทธิภาพสูง มีความเป็นพิษต่อสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมต่ำ • WHO แนะนำให้ใช้ควบคุมมาเลเรีย • สงครามโลกครั้งที่ 2 ทหารอเมริกันใช้ป้องกันแมลง http://contexts.org/socimages/2008/02/01/ddt-is-good-for-me-e-e/

  6. http://contexts.org/socimages/2008/02/01/ddt-is-good-for-me-e-e/http://contexts.org/socimages/2008/02/01/ddt-is-good-for-me-e-e/ DDT sprayed on Long Island beaches in 1945. Photo: Advisory Committee on Pesticides, www1.umn.edu http://caosblog.com/6751

  7. มลพิษ กับ จิตสำนึก • The Silence Spring 1962 • Rachel Carson • Best seller

  8. Unhatched Ibis eggs, damaged because of DDT pesticide poisoning on the Texas Gulf. George Silk,1970 http://www2.ucsc.edu/scpbrg/ddt.htm

  9. สารพิษที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมสามารถถูกส่งต่อไปยังสิ่งมีชีวิตต่างๆ ผ่านการกินกันเป็นทอดๆ และความเข้มข้นของสารพิษในเนื้อเยื่อในสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในลำดับขั้นอาหารสูง ๆ จะเพิ่มขึ้นด้วยกระบวนการ biomagnification

  10. DDT & Biomagnification จากหนังสือเรื่อง The silent springทำให้มนุษย์เริ่มตระหนักถึงผลกระทบจากการกระทำของเราที่ทำให้เกิด ความเสื่อมโทรมของสภาพแวดล้อม ซึ่งผลดังกล่าวย่อมจะย้อนกลับมาทำลายเราเอง

  11. โทษของ DDT • ทำให้กระดูกปลาวาฬเปราะผิดปกติ • ทำให้ปลาแปลงเพศจากเพศผู้เป็นเพศเมีย • DDE สามารถทำลายเชื้ออสุจิของผู้ชาย  หมันและมะเร็งต่อมลูกหมาก เชื้ออสุจิที่ผิดปกติ  ทารกที่คลอดออกมาก็อาจมีอวัยวะที่ไม่สมประกอบ • DDT เป็นพิษต่อเด็กมากกว่าผู้ใหญ่

  12. DDT ถูกระงับการใช้ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1972 ในปัจจุบันยังมีการใช้เพื่อการควบคุมโรคติดต่อในบางพื้นที่ และยังสามารถตรวจพบสารที่ตกค้างจาก DDT ได้ในสิ่งแวดล้อม

  13. ในอดีตการเห็นถึงปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น หรือ การพยายามแก้ไขมักอยู่ในระดับพื้นที่ แต่ปัจจุบันเรากำลังเผชิญหน้ากับปัญหาที่ระดับที่กว้างขึ้นทั้งโลก The Silent Spring  An Inconvenient Truth

  14. ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ สถานีตรวจวัดอากาศ Mauna Loa, Hawaii An Inconvenient Truth • Al Gore (2006) • การเพิ่มขึ้นของ CO2 • ปรากฏการณ์โลกร้อน http://www.youtube.com/watch?v=wnjx6KETmi4

  15. An Inconvenient Truth • การเพิ่มขึ้นของ CO2 • ปรากฏการณ์โลกร้อน • ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับโลกของเรา http://www.youtube.com/watch?v=hTr5m0dFn9A&feature=fvwrel

  16. ความตระหนักในความสำคัญของการรักษาสภาพแวดล้อมสามารถแบ่งออกได้เป็น 4 ระดับ

  17. ระดับที่ 1 เริ่มที่ตัวเรา หยุดการกระทำที่ทำลายสภาพแวดล้อมโดยเริ่มจากตัวเรา เช่น การลดปริมาณของเสียต่างๆ ใครควรรับผิดชอบกับปัญหาที่เกิดขึ้น??

  18. ระดับที่ 1 เริ่มที่ตัวเรา หยุดการกระทำที่ทำลายสภาพแวดล้อมโดยเริ่มจากตัวเรา เช่น การลดปริมาณของเสียต่างๆ • ไม่ต้องเกี่ยงว่าใครเป็นผู้ที่ก่อให้เกิดปัญหามากหรือน้อยเพราะเราต่างต้องช่วยกันในการแก้ไขสิ่งที่เกิดขึ้น อุตสาหกรรม / ครัวเรือน

  19. ข้อจำกัดของความตระหนักในระดับที่ 1 • ส่วนมากแต่ละคนจะมองว่าสิ่งที่เราทำเป็นเพียงส่วนเล็กนิดเดียวทำให้ไม่เห็นความสำคัญหรือ ไม่คิดว่าการเปลี่ยนแปลงตนเองจะมีผลอะไร • หลายคนคิดว่าเทคโนโลยีช่วยได้เสมอ

  20. ระดับที่ 2 การใช้ทรัพยากรของประชากรที่มีจำนวนมากเกินไป • ประชากรที่เพิ่มขึ้นย่อมส่งผลต่อสภาพแวดล้อม • แต่ความรุนแรงจะขึ้นกับลักษณะ หรือ ปริมาณทรัพยากรที่ใช้ของแต่ละบุคคลด้วย • 26%ของประชากรมนุษย์คือผู้ใช้ทรัพยากรประมาณ 80% ของทั้งหมดบนโลก

  21. Global Consumption, 2004 (in billion US dollars) Source: EarthTrends, 2007.

  22. ระดับที่ 2 การใช้ทรัพยากรของประชากรที่มีจำนวนมากเกินไป สิ่งที่ต้องทำ ควบคุมจำนวนประชากร และ ลดการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง (matter and energy)

  23. ระดับที่ 3Spaceship Earth • ความตระหนักในระดับนี้มองโลกเหมือนกับยานที่จะพามนุษย์เดินทางไปพร้อมกัน มนุษย์เป็นผู้ควบคุมยาน แต่จะต้องมีการควบคุมจำนวนประชากรและการใช้ทรัพยากรให้มีความเหมาะสม อย่างไรก็ตามสิ่งนี้จะเป็นไปได้ก็ต่อเมื่อผู้นำทางการเมืองและประชาชนส่วนใหญ่เห็นความสำคัญ • เป้าหมาย ใช้เทคโนโลยี เศรษฐศาสตร์ และ การเมืองในการควบคุมจำนวนประชากรและมลภาวะและการใช้ทรัพยากร เพื่อลดภาระที่จะเกิดขึ้นแก่ระบบนิเวศ (environmental overload)

  24. ข้อจำกัดของความตระหนักในระดับที่ 3 • มนุษย์พยายามที่จะเปลี่ยนแปลง และควบคุมสภาพแวดล้อมให้เข้ากับตนเองมากที่สุด จึงเป็นความพยายามที่จะควบคุมโลก • การควบคุมจำนวนประชากร หรือปริมาณของทรัพยากรที่จะใช้ย่อมเป็นการลดทอนสิทธิส่วนบุคคล หรือความสะดวกสบายของมนุษย์ไปด้วย • การพยายามควบคุมธรรมชาติอาจทำให้เกิดปัญหาขึ้นในอนาคตเนื่องจากเราไม่มีความรู้ที่จะสามารถอธิบายการทำงานของระบบนิเวศทั้งโลกได้จึงอาจเกิดผลกระทบในอนาคต Shallow Ecology

  25. Arne Nasse • Norwegian philosopher • Shallow and Deep ecology Shallow Ecology 1970 มนุษย์มีความสำคัญกว่าสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในระบบนิเวศโลก สิ่งมีชีวิตอื่นๆ และสิ่งมีชีวิตอื่นและส่วนประกอบอื่นของโลกเป็นทรัพยากรสำหรับมนุษย์ “Anthropocentric”

  26. Arne Nasse • Norwegian philosopher • Shallow and Deep ecology Deep ecology1973 มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของโลก เราจึงควรอยู่โดยก่อให้เกิดผลกระทบต่อธรรมชาติให้น้อยที่สุด ดังนั้นจะต้องมีการควบคุมจำนวนประชากรมนุษย์ และลดการใช้เทคโนโลยี เปลี่ยนไปดำรงชีวิตแบบใกล้ชิดธรรมชาติ “Ecocentric”

  27. ระดับที่ 4 โลกที่ยั่งยืน (Sustainable Earth) ความตระหนักและจิตสำนึกในการรักษาสภาพแวดล้อมในระดับนี้อยู่บนพื้นฐานของแนวความคิดเกี่ยวกับ deep ecology

  28. ระดับที่ 4 โลกที่ยั่งยืน (Sustainable Earth) มนุษย์ต้องตระหนักว่า • สิ่งมีชีวิตทั้งหมดบนโลกล้วนมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน • หน้าที่ของมนุษย์มิใช่การควบคุมธรรมชาติ แต่เป็นการทำงานร่วมกับธรรมชาติเพื่อให้บรรลุถึงความต้องการของมนุษย์โดยอยู่บนพื้นฐานของนิเวศวิทยา • เนื่องจากสิ่งมีชีวิตบนโลกมีความหลากหลายมาก การพยายามที่จะควบคุมอาจก่อให้เกิดผลกระทบได้ในภายหลัง • เป้าหมายหลักของการรักษาสภาพแวดล้อมควรจะเป็นเพื่อเก็บรักษาลักษณะทางนิเวศวิทยา ความยั่งยืน และ ความหลากหลายสำหรับทุก species • ลักษณะของการคัดเลือกโดยธรรมชาติควรเป็นตัวกำหนดว่าสิ่งมีชีวิตใดจะอยู่ได้หรือไม่ได้ ไม่ใช่เทคโนโลยี • มนุษย์ไม่มีสิทธิที่จะไปรบกวนการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตอื่น ยกเว้นการนำมาใช้ประโยชน์เพื่อการดำรงชีวิต

  29. Color of the environmentalism • แนวคิดเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ในปัจจุบันแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มใหญ่ Light green Dark green Bright green grey

  30. Color of the environmentalism • แนวคิดแบบ grey environment ไม่เชื่อว่ามีความจำเป็นที่จะต้องทำอะไรเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมไม่ว่าจะในระดับของบุคคล หรือ สังคม grey

  31. Color of the environmentalism • แนวความคิดแบบ light green การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมทุกอย่างเริ่มต้นจากตัวเรา โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดำรงชีวิต Light green

  32. Color of the environmentalism • แนวความคิดแบบ light green การเปลี่ยนแปลงเล็กๆ จากหลายๆคนย่อมส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในภาพรวมทั้งหมดด้วย Light green

  33. Color of the environmentalism • แนวความคิดแบบ Dark green ปัญหาสิ่งแวดล้อมจะแก้ได้ ต่อเมื่อมี การควบคุมจำนวนประชากร ลดการใช้ทรัพยากร (รวมถึงลดระบบการผลิตแบบอุตสาหกรรม) ส่งเสริมให้ใช้สินค้าและทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น สนับสนุน deep ecology เน้นการแก้ปัญหาในระดับท้องถิ่น Dark green

  34. Color of the environmentalism • ซื้อพืชผลทางการเกษตรในท้องถิ่น • ลดการใช้ของจากโรงงานอุตสาหกรรม Dark green ????

  35. Color of the environmentalism • แนวคิดแบบ bright green Alex Steffen (2003) เทคโนโลยีหรือสิ่งประดิษฐ์ที่เหมาะสม คือ การแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพสูงสุด โดยมนุษย์ยังสามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างเป็นสุข Bright green

  36. Color of the environmentalism • Sustainable innovation green energy electric automobile nanotechnology closed loop material cycle Bright green

  37. ในปัจจุบันแนวทางในการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมมักใช้แนวทางของทั้ง light green, dark greenและbright greenรวมกัน แล้วพวกเราจะมีส่วนร่วมได้อย่างไร

More Related