730 likes | 2.05k Vues
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2 ) พ . ศ .2550. โครงสร้างกฎหมายอนุรักษ์พลังงาน. พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535. พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550. มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มิ.ย. 2551.
E N D
พระราชบัญญัติการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550
โครงสร้างกฎหมายอนุรักษ์พลังงานโครงสร้างกฎหมายอนุรักษ์พลังงาน พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติ การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มิ.ย. 2551 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 3 เม.ย. 2535 พระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 12 ธ.ค. 2538 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 17 ก.ค. 2540 กฎกระทรวง มาตรฐาน การจัดการพลังงาน คุณสมบัติ ผู้รับผิดชอบพลังงาน มาตรฐานการออกแบบอาคาร มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 20มิ.ย. 2552 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 31 ก.ค. 2552 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 20 พ.ย. 2552 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 8 เม.ย. 2552 คุณสมบัติ ผู้ตรวจสอบพลังงาน มาตรฐานด้านประสิทธิภาพการใช้พลังงานในเครื่องจักร อุปกรณ์ กำหนดวัสดุเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 11 พ.ค. 2555
พระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมพระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม โรงงาน/อาคาร ที่มีขนาด เครื่องวัดไฟฟ้าตั้งแต่ 1,000 kW ขึ้นไป หม้อแปลงไฟฟ้าตั้งแต่ 1,175 kVA ขึ้นไป การใช้พลังงานรวมตั้งแต่20 ล้าน MJ/ปีขึ้นไป ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดโรงงานควบคุม พ.ศ. 2540 ตามพระราชกฤษฎีกากำหนดอาคารควบคุม พ.ศ. 2538 9
หน้าที่ของเจ้าของโรงงานควบคุม / อาคารควบคุม (มาตรา 9, 21) มีหน้าที่ดังนี้ 1. จัดให้มีผู้รับผิดชอบด้านพลังงานประจำโรงงาน / อาคารควบคุม (คุณสมบัติ จำนวน หน้าที่ให้ออกเป็นกฎกระทรวง) 2. จัดให้มีการจัดการพลังงานในโรงงาน / อาคารควบคุม (หลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติให้ออกเป็นกฎกระทรวง)
กฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงานกฎกระทรวงผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน คุณสมบัติอย่างหนึ่งอย่างใดของ ผชร. / ผชอ. • จบปวส. + ประสบการณ์ 3 ปี + ผลงานอนุรักษ์พลังงาน • จบปริญญาทางวิศวกรรมศาสตร์ / วิทยาศาสตร์ + ผลงานอนุรักษ์พลังงาน • สำเร็จการอบรมหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ • สำเร็จการอบรมหลักสูตรผู้รับผิดชอบด้านพลังงานอาวุโส • สอบผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนดจากการจัดสอบผู้รับผิดชอบด้านพลังงาน
การแต่งตั้งผู้รับผิดชอบพลังงานการแต่งตั้งผู้รับผิดชอบพลังงาน
กฎกระทรวงมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน
กฎกระทรวงมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน การกำหนดโครงสร้างหน่วยงานด้านการจัดการพลังงาน ส่งรายงานฯ มี.ค. ทุกปี ระบบการจัดการพลังงาน การประเมินสถานการณ์เบื้องต้น กำหนดนโยบายอนุรักษ์พลังงานและ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ การทบทวน วิเคราะห์ แก้ไขระบบ การประเมินศักยภาพ การอนุรักษ์พลังงาน กำหนดเป้าหมายและ แผนอนุรักษ์พลังงาน รวมทั้งแผนฝึกอบรบ ตรวจติดตาม ประเมิน ระบบการจัดการพลังงาน ดำเนินการตามแผนฯ
พรบ. การส่งเสริมการอนุรักษ์ฯ พ.ศ. 2535 (แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2550) 1 2 3 มีผลบังคับ 1 มิ.ย. 51 กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงาน กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติผู้รับผิดชอบ ด้านพลังงาน กฎกระทรวงกำหนดคุณสมบัติผู้ตรวจสอบ พลังงาน บังคับ 20 พ.ย. 52 บังคับ 31 ก.ค. 52 รอกฤษฎีกาพิจารณา ประกาศกระทรวง - หลักเกณฑ์และวิธีการ จัดการพลังงาน ในโรงงาน/อาคารควบคุม รมว.พน.ลงนาม 24 ก.ย. 52
กฎกระทรวงคุณสมบัติ ผู้รับผิดชอบพลังงาน แต่งตั้ง ผชร./ผชอ. แจ้งผลรายงาน กฎกระทรวงคุณสมบัติ ผู้ตรวจสอบพลังงาน ขั้นตอนการดำเนินการอนุรักษ์พลังงานตามกฎหมาย เจ้าของโรงงาน/อาคาร กฎกระทรวงมาตรฐานการ จัดการพลังงาน จัดทำการจัดการพลังงาน ตรวจสอบและรับรอง การจัดการพลังงานโดยผู้ตรวจสอบพลังงาน ส่งรายงานการจัดการพลังงานภายในเดือนมีนาคมของทุกปี ตรวจสอบโดยเจ้าหน้าที่ของ พพ.
กฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงานกฎกระทรวงผู้ตรวจสอบพลังงาน
การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ” ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน” หมายความว่า ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานให้เป็นไปตามกฎกระทรวงว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานหลักเกณฑ์ และวิธีการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุม
คุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาต (ข้อ 3) 1. กรณีบุคคลธรรมดา • (ก) สัญชาติไทย • (ข) ได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกรในสาขาที่กำหนดให้การจัดการพลังงานเป็นงานในวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมสาขานั้น • (ค) เป็นผู้สำเร็จการฝึกอบรมด้านการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนด • (ง) มีผู้ชำนาญการและผู้ช่วยผู้ชำนาญการตามที่กำหนดไว้ในข้อ ๔ • (จ) ไม่อยู่ในระหว่างถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตที่ออกตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานในระยะเวลาสามปีก่อนวันขอรับใบอนุญาตหรือไม่เป็นผู้เคยต้องโทษโดยคำพิพากษาถึงที่สุดในความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน เว้นแต่พ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่าสามปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต
คุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาต (ข้อ 3) 2. กรณีนิติบุคคล • (ก) ต้องจดทะเบียนนิติบุคคลตามกฎหมายไทย และมีวัตถุประสงค์เพื่อประกอบธุรกิจหรือให้บริการเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน หรือการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการใช้และการผลิตพลังงาน • (ข) ได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยวิศวกรและมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม (1) (ง) และ (จ) • (ค) กรรมการหรือผู้จัดการของนิติบุคคล หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของนิติบุคคลอย่างน้อยหนึ่งคน ต้องมีคุณสมบัติตาม (1) (ก) (ข) และ (ค) • (ง) กรรมการหรือผู้จัดการของนิติบุคคล หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของนิติบุคคลต้องไม่มีลักษณะต้องห้ามตาม (1) (จ)
คุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาต (ข้อ 4) 4. ผู้ขอรับใบอนุญาตต้องมีผู้ชำนาญการและผู้ช่วยผู้ชำนาญการซึ่งมีจำนวน หน้าที่ และคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ (1) ผู้ชำนาญการอย่างน้อยหนึ่งคน - ทำหน้าที่เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานและจัดทำรายงานผลการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน - โดยผู้ชำนาญการแต่ละคนสามารถตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานให้กับโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมได้ไม่เกิน30 แห่งในแต่ละรอบของการตรวจสอบและรับรองการจัด (2) ผู้ช่วยผู้ชำนาญการอย่างน้อยสองคน - ทำหน้าที่ช่วยผู้ชำนาญการในการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน และช่วยผู้ชำนาญการจัดทำรายงานผลการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน - โดยผู้ช่วยผู้ชำนาญการแต่ละคนสามารถตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานให้กับโรงงานควบคุมหรืออาคารควบคุมได้ไม่เกิน30 แห่งในแต่ละรอบของการตรวจสอบและรับรองการจัด ผู้ชำนาญการ และผู้ช่วยผู้ชำนาญการต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้ามตามข้อ 3 (1) (ก) (ค) และ (จ)
คุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาต (ข้อ 5,6) ข้อ 5ผู้ชำนาญการและผู้ช่วยผู้ชำนาญการต้องไม่เป็นผู้ชำนาญการหรือผู้ช่วยผู้ชำนาญการให้กับผู้รับใบอนุญาตรายอื่นในเวลาเดียวกัน และต้องไม่เป็นบุคลากรประจำของโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมที่เข้าไปดำเนินการตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงาน ข้อ 6การตรวจสอบและรับรองการจัดการพลังงานในโรงงานควบคุมและอาคารควบคุมแต่ละแห่งต้องดำเนินการโดยผู้ชำนาญการอย่างน้อยหนึ่งคนและผู้ช่วยผู้ชำนาญการอย่างน้อยสองคน
? & A Q Thank you