1 / 37

รายงานทางการเงินกับ ความโปร่งใสของธุรกิจ SMEs

รายงานทางการเงินกับ ความโปร่งใสของธุรกิจ SMEs. ดร. วรศักดิ์ ทุมมานนท์ อาจารย์ประจำคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 1. งบการเงินและองค์ประกอบของงบการเงิน. 1.1 งบการเงิน คือ.

shaman
Télécharger la présentation

รายงานทางการเงินกับ ความโปร่งใสของธุรกิจ SMEs

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. รายงานทางการเงินกับความโปร่งใสของธุรกิจ SMEs ดร. วรศักดิ์ ทุมมานนท์อาจารย์ประจำคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  2. 1. งบการเงินและองค์ประกอบของงบการเงิน 1.1 งบการเงิน คือ รายงานทางบัญชีที่ฝ่ายบริหารของกิจการจัดทำขึ้นเมื่อครบรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งเป็นผลของการประมวลรายการบัญชีจำนวนมากเพื่อจัดกลุ่มเข้าด้วยกันตามลักษณะหรือหน้าที่ของรายการนั้นๆ เพื่อเสนอข้อมูลทางการเงินเกี่ยวกับฐานะทางการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดของกิจการ

  3. 1.2 องค์ประกอบของงบการเงิน งบดุล - สินทรัพย์ - หนี้สิน - ทุน/ส่วนของเจ้าของ  งบกำไรขาดทุน - รายได้ - ค่าใช้จ่าย/ต้นทุน

  4. 1.2 องค์ประกอบของงบการเงิน (ต่อ)  งบกระแสเงินสด - แสดงการเคลื่อนไหวของเงินสด โดยแสดงถึง การได้มาหรือใช้ไปของเงินสดหรือสิ่งเทียบ เท่าเงินสด O เงินสดที่ได้มาจากการดำเนินงาน O เงินสดที่ได้มาจากการจัดหาเงิน O เงินสดที่ได้มาจากการลงทุน

  5. 1.2 องค์ประกอบของงบการเงิน (ต่อ)  นโยบายการบัญชีและหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ให้ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับตัวเลขต่างๆในงบการเงิน - เกณฑ์การจัดทำงบการเงินและนโยบายการบัญชี - ข้อมูลเพิ่มเติม

  6. นโยบายการบัญชี หมายถึง หลักการโดยเฉพาะ หลักเกณฑ์ ประเพณีปฏิบัติ กฎเกณฑ์ หรือวิธีการที่กิจการใช้ในการจัดทำและ นำเสนองบการเงิน ภายใต้สถานการณ์และปัจจัยแวดล้อมเดียวกัน บริษัทที่มีนโยบายการบัญชีต่างกัน ทำให้งบการเงินแสดงผลการดำเนินงานและฐานะการเงินแตกต่างกันได้ มาตรฐานการบัญชีจึงมีการกำหนดให้ทุกกิจการเปิดเผยนโยบายการบัญชี

  7. ตัวอย่างนโยบายการบัญชีที่สำคัญตัวอย่างนโยบายการบัญชีที่สำคัญ วิธีการรับรู้รายได้  การตีราคาสินค้าคงเหลือ  ค่าเผื่อหนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ  การบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ที่เสื่อมราคาได้และ วิธีการคิดค่าเสื่อมราคา

  8. สินทรัพย์ที่ไม่มีตัวตนรวมทั้งวิธีการบัญชีหรือการ ตัดจ่ายที่เกี่ยวข้อง  การแปลงค่าเงินตราต่างประเทศ  วิธีการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้  กำไรต่อหุ้น

  9. มาตรฐานการบัญชี “มาตรฐานการบัญชี” หมายความว่า  หลักการบัญชีและวิธีการปฏิบัติทางบัญชี ที่รับรองทั่วไป  หรือมาตรฐานการบัญชีที่กำหนดตาม กฎหมายว่าด้วยการนั้น

  10. ระหว่างที่ยังไม่มีมาตรฐานการบัญชีที่กฎหมายกำหนด ให้ถือว่ามาตรฐานการบัญชีที่กำหนดโดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ซึ่งคณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพสอบบัญชีได้มีมติให้ประกาศใช้แล้วเป็น มาตรฐานการบัญชีตามพระราชบัญญัตินี้

  11. บัญชีรายชื่อมาตรฐานการบัญชีแนบท้ายประกาศ ก.บช. ฉบับที่ 42 ( พ.ศ. 2543 ) และฉบับที่ 48 (พ.ศ.2545) ลำดับที่ ฉบับที่ มาตรฐานการบัญชีเรื่อง 1 - แม่บทการบัญชี 2 7 การบัญชีเกี่ยวกับการเช่าซื้อ-ทางด้านผู้ให้เช่าซื้อ 3 11 หนี้สงสัยจะสูญและหนี้สูญ 4 14 การบัญชีสำหรับการวิจัยและพัฒนา เหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในภายหน้าและเหตุการณ์ภายหลังวันที่ใน งบการเงิน 5 21 6 24 การเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน

  12. ต่อ ลำดับที่ ฉบับที่ มาตรฐานการบัญชีเรื่อง 7 25 งบกระแสเงินสด 8 26 การรับรู้รายได้สำหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 9 การเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินของธนาคารและสถาบันการเงินที่คล้ายคลึงกัน 27 10 29 การบัญชีสำหรับงานสัญญาเช่าระยะยาว 11 30 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 12 31 สินค้าคงเหลือ 13 32 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์

  13. ลำดับที่ ฉบับที่ มาตรฐานการบัญชีเรื่อง 14 33 ต้นทุนการกู้ยืม การบัญชีสำหรับการปรับโครงสร้างหนี้ที่มีปัญหา 15 34 16 35 การนำเสนองบการเงิน 17 36 การด้อยค่าของสินทรัพย์ 18 37 การรับรู้รายได้ 19 38 กำไรต่อหุ้น 39 กำไรหรือขาดทุนสุทธิสำหรับงวด ข้อผิดพลาดที่สำคัญและการเปลี่ยนแปลงทางบัญชี 20 21 40 การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และ ตราสารทุน

  14. ลำดับที่ ฉบับที่ มาตรฐานการบัญชีเรื่อง 22 41 งบการเงินระหว่างกาล 23 42 การบัญชีสำหรับกิจการที่ดำเนินธุรกิจเฉพาะด้านการลงทุน 24 43 การรวมธุรกิจ 25 44 งบการเงินรวมและการบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย 26 45 การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทร่วม 27 46 รายงานทางการเงินเกี่ยวกับส่วนได้เสียในการร่วมค้า 28 47 การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 29 48 การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน 49 สัญญาก่อสร้าง 30

  15. ลำดับที่ ฉบับที่ มาตรฐานการบัญชีเรื่อง 31 52 เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบดุล 32 53 ประมาณการหนี้สิน หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นและสินทรัพย์ที่อาจเกิดขึ้น 33 54 การดำเนินงานที่ยกเลิก

  16. การผ่อนปรนการใช้มาตรฐานการบัญชี ให้กับธุรกิจที่ไม่ใช่บริษัทมหาชนจำกัด ก.บช.มีมติผ่อนปรนไม่บังคับใช้มาตรฐานการการบัญชีให้กับธุรกิจที่ไม่ใช่บริษัทมหาชนจำกัด 7 ฉบับ ฉบับที่ เรื่อง *24 การเสนอข้อมูลทางการเงินจำแนกตามส่วนงาน 25 งบกระแสเงินสด 36 การด้อยค่าของสินทรัพย์

  17. ฉบับที่ เรื่อง 44 งบการเงินรวมและการบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทย่อย 45 การบัญชีสำหรับเงินลงทุนในบริษัทร่วม *47 การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 48 การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลสำหรับเครื่องมือทางการเงิน * ผ่อนปรนไม่บังคับใช้กับธุรกิจหลักทรัพย์ จำนวน 2 ฉบับ คือ ฉบับที่ 24 และ 47

  18. บริษัท...จำกัด งบดุล หน่วย:บาท สินทรัพย์ 25x125x0 1. สินทรัพย์หมุนเวียน 1.1 เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน 1.2 เงินลงทุนชั่วคราว 1.3 ลูกหนี้การค้า - สุทธิ 1.4 เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 1.5 สินค้าคงเหลือ 1.6 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์หมุนเวียน

  19. 2. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 2.1 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 2.2 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ 2.3. สินทรัพย์ไม่มีตัวตน รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสินทรัพย์

  20. หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้นหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 3. หนี้สินหมุนเวียน 3.1 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 3.2 เจ้าหนี้การค้า 3.3 เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำหนดชำระภายในหนึ่งปี 3.4 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกัน 3.5 หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน

  21. 4. หนี้สินไม่หมุนเวียน 4.1 เงินกู้ยืมระยะยาวอื่น 4.2 ประมาณการหนี้สิน 4.3 หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้สิน

  22. 5. ส่วนของผู้ถือหุ้น 5.1 ทุนเรือนหุ้น 5.1.1 ทุนจดทะเบียน หุ้นสามัญ 5.1.2 ทุนที่ออกและชำระแล้ว หุ้นสามัญ 5.2 ส่วนเกินมูลค่าหุ้น

  23. 5. ส่วนของผู้ถือหุ้น (ต่อ) 5.4 กำไร ( ขาดทุน ) สะสม 5.4.1 จัดสรรแล้ว 5.4.1.1 สำรองตามกฎหมาย 5.4.1.2 อื่น ๆ 5.4.2 ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

  24. งบกำไรขาดทุน แสดงแบบขั้นเดียว หน่วย : บาท 1. รายได้ 25x125x0 1.1 รายได้จากการขายและหรือการให้บริการ 1.2 รายได้อื่น รวมรายได้ 2. ค่าใช้จ่าย 2.1 ต้นทุนขายและหรือต้นทุนการให้บริการ 2.2 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 2.3 ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่าใช้จ่าย

  25. 3. กำไร ( ขาดทุน ) ก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้ 4. ดอกเบี้ยจ่าย 5. ภาษีเงินได้ 6. กำไร ( ขาดทุน ) จากกิจกรรมตามปกติ 7. รายการพิเศษ - สุทธิ 8. กำไร ( ขาดทุน ) สุทธิ 9. กำไรต่อหุ้น 9.1 กำไร (ขาดทุน) จากกิจกรรมตามปกติ 9.2 รายการพิเศษ - สุทธิ 9.3. กำไร ( ขาดทุน ) สุทธิ

  26. งบกำไรขาดทุน แสดงแบบหลายขั้น หน่วย : บาท 25x125x0 1. รายได้จากการขายและหรือการให้บริการ 2. ต้นทุนขายและหรือต้นทุนการให้บริการ 3. กำไรขั้นต้น 4. ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 5. กำไร (ขาดทุน) จากการขายและหรือการให้บริการ 6. รายได้อื่น 7. ค่าใช้จ่ายอื่น

  27. 8. กำไร(ขาดทุน ) ก่อนดอกเบี้ยจ่ายและภาษีเงินได้ 9. ดอกเบี้ยจ่าย 10. ภาษีเงินได้ 11. กำไร ( ขาดทุน ) สุทธิ 12. กำไรต่อหุ้น

  28. หมายเหตุประกอบงบการเงินหมายเหตุประกอบงบการเงิน หมายเหตุประกอบงบการเงินต้องจัดทำให้สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชี โดยมี 2 ส่วน คือ 1. สรุปนโยบายการบัญชีที่สำคัญ 2. ข้อมูลเพิ่มเติมอื่น

  29. ตัวอย่างข้อมูลเพิ่มเติมตัวอย่างข้อมูลเพิ่มเติม ภาระผูกพันต่างๆ เช่นข้อจำกัดหรือพันธะตามสัญญา  การค้ำประกัน บุริมสิทธิ การด้อยสิทธิของตราสารหนี้ ในการรับชำระหนี้คืนและสิทธิเรียกร้องต่างๆ  รายการกับกิจการที่เกี่ยวข้องกัน  หนี้สินที่อาจเกิดขึ้นภายหน้า เช่นการถูกประเมินเรียก เก็บภาษีเพิ่มเติมและการถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหาย

  30. ตัวอย่างข้อมูลเพิ่มเติม (ต่อ)  เหตุการณ์ภายหลังวันที่ในงบการเงิน  รายละเอียดเพิ่มเติมรายการที่ปรากฎในงบการเงิน  ข้อมูลที่มีสาระสำคัญทุกอย่าง ซึ่งจำเป็นเพื่อให้ งบการเงินมีความชัดเจนและไม่หลงผิด

  31. 2. ข้อควรพิจารณา / ข้อควรคำนึงในการนำงบการเงินมา ใช้ประกอบการตัดสินใจ 2.1 งบการเงินเป็นเพียงข้อมูลส่วนหนึ่งในการตัดสินใจ จะต้องใช้ข้อมูลอื่นประกอบ 2.2 องค์ประกอบของงบการเงินจะต้องครบถ้วนสมบูรณ์ 2.3 งบการเงิน แสดงรายการครบถ้วนเพียงพอ ถูกต้อง เข้าใจง่าย เชื่อถือได้ เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี

  32. 2.4 สามารถเปรียบเทียบกับงบการเงินงวดก่อน หรือกิจการอื่น ในธุรกิจคล้ายกัน ควรเป็นงบการเงินเปรียบเทียบ 2 ปี ขึ้นไป 2.5 การแสดงรายการและจัดหมวดหมู่สอดคล้องกับที่ กฎหมายกำหนด 2.6 งบการเงินที่ผู้สอบบัญชีรับอนุญาตตรวจสอบแล้วหรือ มีระบบการควบคุมภายในที่ดี 2.7 ให้ความสำคัญกับข้อมูลในงบการเงินแต่ละส่วนไม่ เท่ากันตามประเภทธุรกิจ

  33. 2.8 เป็นงบการเงินในงวดเวลาที่เหมาะสม 2.9 มีความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่จะนำมาใช้ พิจารณาความสัมพันธ์ของรายการในงบการเงิน 2.10 งบการเงินเป็นผลของตัวเลขในอดีต ความสัมพันธ์ ในอนาคตอาจไม่เป็นแบบเดิม

  34. ความไม่โปร่งใสในการจัดทำงบการเงินความไม่โปร่งใสในการจัดทำงบการเงิน การแสดงรายการไม่ตรงตามหมวดหมู่ การแสดงรายการผิดที่ซึ่งทำให้หลงผิด เช่น  แสดงรายการหนี้สินทางด้านสินทรัพย์  แสดงรายการขาดทุนสะสมด้านสินทรัพย์  ไม่แสดงรายละเอียดทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคน / ทุนจดทะเบียนหรือทุนที่ออกและเรียกชำระแล้ว

  35. ความไม่โปร่งใสในการจัดทำงบการเงินความไม่โปร่งใสในการจัดทำงบการเงิน การแสดงรายการในงบดุล งบกำไรขาดทุน งบอื่น รวมทั้งหมายเหตุประกอบงบการเงินไม่สอดคล้องกัน  เงินสดในมือสูงมาก งบดุลไม่ปรากฎบัญชีธนาคารแต่ ปรากฏดอกเบี้ยจ่ายในงบกำไรขาดทุน หรือค่าธรรมเนียม ธนาคาร  สินค้าคงเหลือในงบดุลไม่ตรงกับงบต้นทุนขายหรือ งบประกอบ

  36. รายละเอียดสินค้าคงเหลือ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ค่าเสื่อม ราคา ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารไม่ตรงกับ ยอดในงบดุลหรือในงบกำไรขาดทุน  ปรากฏรายการสินค้าคงเหลือในงบดุลแต่ไม่ปรากฎรายการใน งบกำไรขาดทุน  ปรากฏรายการงานระหว่างทำในงบดุลแต่ไม่มีในงบกำไรขาดทุน  ลูกหนี้ / เจ้าหนี้กรรมการสูงมาก  มีรายการอาคารและอุปกรณ์ แต่ไม่มีค่าเสื่อมราคาในงบกำไร ขาดทุนหรือในทำนองกลับกัน

  37.  มีหนี้สินในงบดุล แต่ไม่ปรากฎรายการดอกเบี้ยจ่ายหรือ ทำนองกลับกัน  ทุนจดทะเบียนไม่สอดคล้องกับหลักฐานทางทะเบียน นิติบุคคล /บัญชีรายชื่อผู้ถือหุ้น  กำไรสะสมในงบกำไรสะสมไม่สอดคล้องกับงบดุล  มีรายการค่าเช่าในงบกำไรขาดทุน แต่ไม่มีสินทรัพย์ในงบดุล ฯลฯ

More Related