350 likes | 492 Vues
การประชุมชี้แจงและรับฟังความคิดเห็น เรื่อง การปรับระบบบริหารงานบุคคล ของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา. วันพุธที่ 27 พฤษภาคม 2552 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์. : ซี เป็น แท่ง. CHANGE. โดย. ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน. ก.พ.
E N D
การประชุมชี้แจงและรับฟังความคิดเห็น เรื่อง การปรับระบบบริหารงานบุคคล ของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา วันพุธที่ 27 พฤษภาคม 2552 ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์
: ซี เป็น แท่ง CHANGE โดย ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน
ก.พ. พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 ปรับระบบจำแนกตำแหน่งและการให้ได้รับเงินเดือน การเปลี่ยนแปลงสำคัญ 2 ประการ 1. การจำแนกตำแหน่งตามกลุ่มลักษณะงาน แทนการมีมาตรฐานกลาง ก.ประเภทตำแหน่งเดิม 1.1 ประเภทบริหาร (ระดับสูง หรือระดับกลาง) 1.2 ประเภทวิชาชีพเฉพาะ หรือเชี่ยวชาญเฉพาะ 1.3 ประเภททั่วไป ข.ระดับตำแหน่ง 11 ระดับ ก.ประเภทตำแหน่งใหม่ 1.1 ประเภทบริหาร 1.2 ประเภทอำนวยการ 1.3 ประเภทวิชาการ 1.4 ประเภททั่วไป ข.ไม่มีการกำหนดระดับ ตำแหน่งเป็น 11 ระดับ 3 CHANGE:ระบบซีเป็นระบบแท่ง
2. โครงสร้างบัญชีเงินเดือน ก.เดิม 2.1 ใช้บัญชีเงินเดือน เดียวกันสำหรับ ทุกลักษณะงาน 2.2 เป็นบัญชีแบบขั้น ข.ใหม่ 2.1 แยกบัญชีเงินเดือนตาม ประเภทของกลุ่มตำแหน่ง 2.2 เป็นบัญชีเงินเดือน แบบช่วง (ขั้นต่ำ-ขั้นสูง) 4
แนวความคิดและหลักการการจัดโครงสร้างตำแหน่งแบบกว้าง (Broadbanding) ระบบตำแหน่งและค่าตอบแทนเดิม ระบบตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่ • เน้นคนที่มีความรู้ความสามารถ และค่าตอบแทนที่สอดคล้องกับผลงาน • จัดสายงานเป็นกลุ่มให้มีจำนวนน้อยที่สุด • ระบบค่าตอบแทนเป็นโครงสร้างเงินเดือนที่มีกระบอกเงินเดือนเพียงไม่กี่ระดับ • ค่าตอบแทนเน้นผลงาน • ปัจจัยสำคัญอยู่ที่การวิเคราะห์งานเพื่อกำหนดระดับตำแหน่ง • และเงินเดือน ระบบจำแนก ตำแหน่ง มุ่งงาน ระบบ ค่าตอบแทน 5
ความสำคัญของระบบ Broadbanding • ระบบการจ่ายเงินเดือนอิงกับประเภทตำแหน่ง • ลดจำนวนระดับตำแหน่งและปรับเปลี่ยนขอบเขตของงาน • หัวหน้างานมีความคล่องตัวในการมอบหมายงาน • สร้างการทำงานเป็นทีมเนื่องจากระดับตำแหน่งไม่แตกต่างกัน • การจ่ายค่าตอบแทนที่เหมาะสมกับความรู้ความสามารถและผลงาน 6
66 , 480 66 , 480 ใหม่ โครงสร้างตำแหน่งและบัญชีเงินเดือน (ก.พ.) โครงสร้างตำแหน่งและบัญชีเงินเดือน 66,480 สูง สูง 66,480 (S2) (S2) (k5 ) (k5 ) ทรงคุณวุฒิ ทรงคุณวุฒิ 59,770 59,770 59,770 59,770 เดิม เดิม 41,720 41,720 (O4 ) (O4 ) 53,690 53,690 ทักษะพิเศษ ทักษะพิเศษ (M2 ) สูง (M2 ) สูง 59,770 48,220 59,770 48,220 64,340 64,340 (k4 ) (k4 ) 31,280 31,280 (O3 ) (O3 ) เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญ 47,450 47,450 (S1 ) (S1 ) ต้น ต้น 29,900 29,900 อาวุโส อาวุโส 48,700 48,700 50,550 50,550 50,550 50,550 15,410 15,410 (K3 ) (M1 ) (K3 ) (M1 ) ต้น ต้น บริหาร ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการพิเศษ 25,390 25,390 33,540 33,540 21,080 21,080 O2 ) O2 ) ชำนาญงาน ชำนาญงาน อำนวยการ 36,020 36,020 (K2 ) (K2 ) 10,190 10,190 ชำนาญการ ชำนาญการ บัญชีเงินเดือน แยกตามประเภทตำแหน่ง • บัญชีเงินเดือน แยกตามประเภทตำแหน่ง • 14,330 14,330 เน้น ความสามารถบุคคลควบคู่กับค่างาน • เน้น ความสามารถบุคคลควบคู่กับค่างาน • 18,190 18,190 22,220 22,220 บัญชีเงินเดือน แบบช่วง • บัญชีเงินเดือน แบบช่วง • (O1 ) (O1 ) ปฏิบัติงาน ปฏิบัติการ ปฏิบัติงาน ปฏิบัติการ (K1 ) (K1 ) 7,940 7,940 4,630 4,630 วิชาการ • บัญชีเงินเดือนเดียวสำหรับทุกลักษณะงาน ทั่วไป • บัญชีเงินเดือน แบบขั้น 7
ก.พ.อ. ปรับระบบบริหารงานบุคคล ตาม พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ.2547 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 8
การปรับระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษาการปรับระบบบริหารงานบุคคลของข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา ระบบบริหาร งานบุคคล ของ ข้าราชการ พลเรือน ใน สถาบัน อุดมศึกษา ระบบบริหารงานบุคคลระบบใหม่ โครงสร้าง ตำแหน่ง และ ค่าตอบแทน ของ ก.พ. พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการพลเรือนใน สถาบันอุดมศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 - ม.16 การได้รับเงินเดือนและ เงินประจำตำแหน่งให้เทียบเคียงกับ บัญชีเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งตามกฎหมายว่าด้วยเงินเดือนและ เงินประจำตำแหน่ง หรือตามกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือน (เสนอคณะรัฐมนตรี) 9
หลักการ 1. พิจารณาถึงกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ เช่น พรบ. ก.พ.อ./ก.พ. พรบ.ของแต่ละมหาวิทยาลัย 2. พิจารณาถึงโครงสร้างตำแหน่งและเกณฑ์การเข้าสู่ตำแหน่งเดิม 3. พิจารณาจัดเข้าแท่งเงินเดือนของ ก.พ. (ให้ได้มากที่สุด) 10
แนวทางการปรับระบบบริหารงานบุคคลแนวทางการปรับระบบบริหารงานบุคคล 1. สอดคล้องและเทียบเคียงกับตำแหน่งและระดับตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ 2. สอดคล้องและเทียบเคียงกับช่วงเงินเดือนของตำแหน่งระดับเดียวกัน (ก.พ.อ.และ ก.พ.) 3. คำนึงถึงประเภทตำแหน่งที่แตกต่างกันและมีลักษณะเฉพาะของข้าราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษา 4. ครอบคลุมตำแหน่ง / ระดับตำแหน่งที่มีอยู่เดิม 5. ได้รับเงินเดือน เงินประจำตำแหน่งและสิทธิประโยชน์อื่นไม่น้อยกว่าที่ได้รับอยู่เดิม และใช้หลักการเดียวกับ ก.พ. 6. เพิ่มงบประมาณเท่าที่จำเป็น 11
แนวทาง 1. เทียบเคียงโครงสร้างตำแหน่งของ ก.พ.อ. กับ ก.พ. จัดประเภทตำแหน่งตามกลุ่มลักษณะงานแทนการมี มาตรฐานกลาง กำหนดเป็น 3 ประเภท 1.1 ตำแหน่งวิชาการ 1.2 ตำแหน่งประเภทผู้บริหาร 1.3 ตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ 12
แนวทาง (ต่อ) 2. เทียบเคียงโครงสร้างบัญชีเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง การให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของ ก.พ.อ. กับ ก.พ. เสนอคณะรัฐมนตรีเห็นชอบ มีผลใช้บังคับตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2552 โครงสร้างบัญชีเงินเดือนเป็นแบบแท่งและช่วง โดยไม่มีขั้นเงินเดือน การเลื่อนเงินเดือนเป็นร้อยละของค่ากึ่งกลางที่ใช้เป็นฐานการคำนวณ 13
ผลการศึกษาวิเคราะห์เทียบเคียงเพื่อรับฟังความคิดเห็นผลการศึกษาวิเคราะห์เทียบเคียงเพื่อรับฟังความคิดเห็น 1. แนวทางการปรับเปลี่ยนประเภทตำแหน่ง 1.1 ตำแหน่งวิชาการ ตาม พ.ร.บ. ก.พ.อ. 2547 การปรับเปลี่ยนระบบใหม่ ตำแหน่ง ระดับ ตำแหน่ง อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ 4 - 7 6 - 8 7 - 9 9 – 10 11 อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ญาณวิทย์ 14
1.2 ตำแหน่งประเภทผู้บริหาร ที่ ก.พ.อ.กำหนด ตาม พ.ร.บ. ก.พ.อ. 2547 การปรับเปลี่ยนระบบใหม่ หมายเหตุ ประเภท ระดับ ประเภท ระดับ ระดับ หัวหน้างาน หัวหน้าสนง. เลขานุการ หัวหน้างานที่มิได้ใช้วิชาชีพ หัวหน้า สนง.เลขานุการ ระดับ 7 บริหารระดับต้น ระดับ 7,8 และ ระดับ 7-8 เดิม ผอ.กอง , หัวหน้าสนง.เลขานุการ ผอ.สนง.อธิการบดี ผอ.สนง.วิทยาเขต หัวหน้างานที่มิได้ใช้และใช้วิชาชีพ ประเภทผู้บริหาร ผู้อำนวยการกอง ระดับ 8 ผอ.สนง.อธิการบดี ผอ.สนง.วิทยาเขต หัวหน้างานที่ใช้วิชาชีพ บริหารระดับสูง ผอ.สนง.อธิการบดี ผอ.สนง.วิทยาเขต ระดับ 8 เดิม ระดับ 9 เดิม ระดับ 9 15
1.3 ตำแหน่งประเภททั่วไป วิชาชีพเฉพาะ หรือเชี่ยวชาญเฉพาะ ตาม พ.ร.บ. ก.พ.อ. 2547 การปรับเปลี่ยนระบบใหม่ หมายเหตุ ระดับ ประเภท ระดับ ประเภท ระดับ ปฏิบัติงาน * ระดับ 1-4 เดิม ปฏิบัติการ ระดับต้น ระดับ 1-3, ระดับ 2-4 ปฏิบัติการ ระดับต้น ที่มีประสบการณ์ ระดับ 5, 6 เดิม ชำนาญงาน * ประเภททั่วไป ระดับ 4,5,6,7,8 ทั่วไป ชำนาญงานพิเศษ * ระดับ 7-8 ระดับ 7-8 เดิม ชำนาญการ ระดับ 3-6, ระดับ 4-7 ปฏิบัติการ ระดับ 3-6และ4-6 ปฏิบัติการระดับกลาง ประเภททั่วไปหรือวิชาชีพเฉพาะหรือ เชี่ยวชาญเฉพาะ ชำนาญการ ชำนาญการระดับ 6 เดิม, หัวหน้างาน ระดับ 7 ระดับ 6,7-8 ชำนาญการ วิชาชีพเฉพาะ หรือ เชี่ยวชาญเฉพาะ ชำนาญการระดับ 7-8, หัวหน้างาน ระดับ 7-8 และระดับ 8 เดิม ชำนาญการพิเศษ * ระดับ 9 ประเภททั่วไปหรือ วิชาชีพเฉพาะหรือ เชี่ยวชาญเฉพาะ เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญ ระดับ 9 เดิม ระดับ 10 ระดับ 10 เดิม เชี่ยวชาญพิเศษ เชี่ยวชาญพิเศษ 16 หมายเหตุ * หมายถึง ระดับอื่นตามที่ ก.พ.อ. กำหนด
ก.พ.อ.กำหนดตำแหน่งเพิ่ม ดังนี้ ตำแหน่งวิชาการ - ศาสตราจารย์ญาณวิทย์ ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ / เชี่ยวชาญเฉพาะ - ระดับชำนาญการพิเศษ • ตำแหน่งประเภททั่วไป • ระดับชำนาญงานพิเศษ • ระดับชำนาญงาน • ระดับปฏิบัติงาน 17
2. การกำหนดบัญชีเงินเดือน ดังนี้ 2.1 ตำแหน่งวิชาการ 2.2 ตำแหน่งประเภทผู้บริหาร 2.3 ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะหรือเชี่ยวชาญเฉพาะ 2.4 ตำแหน่งประเภททั่วไป 18
เทียบเคียงแท่งเงินเดือน ก.พ. & ก.พ.อ. ตำแหน่งวิชาการ ก.พ. ก.พ.อ.(เดิม) ก.พ.อ.(ใหม่) ** แพทย์ / นักกฎหมายกฤษฎีกา 66,480 64,340 11 ท/H 66,480 11 บ/H ** ศาสตราจารย์ 11 11บ/H ศ. (11) ศ.ญาณวิทย์ 64,340 28,550 10/1 11 ท/H 64,340 (10-11) ทรงคุณวุฒิ 59,770 10/H ศาสตราจารย์ 9 - 10 ศ. ศ. 28,550 41,720 10/9 (9-10) 23,230 9/1 59,770 10/H 59,770 50,550 10/H 9/H รองศาสตราจารย์ 7-9 รศ. รศ. (9) (7-9) เชี่ยวชาญ 23,230 29,900 15,410 9/6 7/1 50,550 9/H 50,550 9/H 47,450 8/H (8) ชำนาญการพิเศษ ผศ. 18,910 21,080 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 6-8 ผศ. (6-8) 8/3 36,020 8/16 (6-7) ชำนาญการ 12,530 6/1 12,530 14,330 8/16 36,020 6/3.5 33,540 7/H อาจารย์ 4 - 7 22,220 5/H อาจารย์ ขั้นต่ำชั่วคราว (4-7) อาจารย์ (3-5) 13,110 ป.เอก ปฏิบัติการ 5/6 9,700 3/4 4/4 4/4 9,700 ป.โท 7,940 19 วิชาการ ตำแหน่งวิชาการ
เทียบเคียงแท่งเงินเดือน ก.พ. & ก.พ.อ.ประเภทผู้บริหาร ก.พ.อ.(เดิม) ก.พ.อ.(ใหม่) ก.พ. 59,770 10/H 59,770 10/H 50,550 9/H ผอ.สำนักงานอธิการบดี/วิทยาเขต 9 (9) บริหารระดับสูง (บส.9) สูง บริหาร 9 31,280 ผอ.สำนักงานอธิการบดี/วิทยาเขต 8 31,280 9/7 9/7 23,230 9/1 • 23,230 9/1 23,230 9/1 • 47,450 8/H 50,550 9/H 50,550 9/H ผอ.กอง 7 - 8 • บริหาร 8 (8) (บก.8) ต้น บริหารระดับต้น 25,390 18,910 8/1 25,390 8/7 เลขานุการคณะ 7,8 8/7 18,910 33,540 7/H 8/1 18,910 (7) 8/1 บริหาร 7 15,410 7/1 ขั้นต่ำชั่วคราว ขั้นต่ำชั่วคราว อำนวยการ บริหาร 20
เทียบเคียงแท่งเงินเดือน ก.พ. & ก.พ.อ.ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ/เชี่ยวชาญเฉพาะ ก.พ. ก.พ.อ.(เดิม) ก.พ.อ.(ใหม่) **แพทย์ / นักกฎหมายกฤษฎีกา 66,480 ** 11บ/H 64,340 11ท/H 59,770 10/H 64,340 เชี่ยวชาญพิเศษ 10 (10-11) เชี่ยวชาญพิเศษ ทรงคุณวุฒิ เชี่ยวชาญพิเศษ (10) ที่ปรึกษา 10 28,550 41,720 28,550 10/9 28,550 41,720 10/1 10/9 59,770 50,550 10/H เชี่ยวชาญ 9 59,770 10/H 9/H เชี่ยวชาญ หัวหน้าฝ่ายพยาบาล 9 (9) (9) เชี่ยวชาญ เชี่ยวชาญ 23,230 29,900 หัวหน้าฝ่ายเภสัชกรรม 9 9/6 23,230 23,230 29,900 9/6 9/1 ผู้ตรวจการพยาบาล 7-8 50,550 9/H 50,550 9/H 8/H ชำนาญการ 7-8 47,450 (8) ชำนาญการพิเศษ หัวหน้าหน่วยงาน 8 ชำนาญการพิเศษ 18,910 21,080 (7-8) ชำนาญการ 8/3 พยาบาลถวายงาน 7,8 18,910 21,080 8/3 หัวหน้าหน่วยงาน 7 15,410 36,020 7/1 8/16 36,020 8/16 (6-7) หัวหน้าหอผู้ป่วย 7 ชำนาญการ (เลขานุการภาควิชา 7) ชำนาญการ ชำนาญการ 6 33,540 7/H 12,530 ชำนาญการ 6 / (7ว เดิม) 14,330 12,530 14,330 6/3.5 6/H 27,500 6/3.5 ปฏิบัติการระดับกลาง 4-7 (4 สายงาน) 6/H 22,220 4/4 27,500 5/H ปฏิบัติการระดับกลาง 3-6 9,700 (3-5) ปฏิบัติการระดับกลาง 4-7 ปฏิบัติการ 4/4 ปฏิบัติการ 3/4 9,700 ปฏิบัติการระดับกลาง 3-6 7,940 3/4 7,940 3/4 7,940 ขั้นต่ำชั่วคราว ขั้นต่ำชั่วคราว วิชาการ วิชาชีพเฉพาะ หรือ เชี่ยวชาญเฉพาะ 21
เทียบเคียงแท่งเงินเดือน ก.พ. & ก.พ.อ.ตำแหน่งประเภททั่วไป ก.พ. 59,770 10/H ** สายงานทางคีตศิลป์ ดุริยางคศิลป์ ** ทักษะพิเศษ (9) ก.พ.อ.(เดิม) ก.พ.อ.(ใหม่) 48,220 9/18.5 8/H 47,450 47,450 8/H 8/H 47,450 * *19 สายงานที่ได้ถึงขั้นสูง 36,020 หัวหน้างาน 7 ชำนาญการ 7-8 36,020 ชำนาญการ 7-8 ชำนาญการ (7-8) ชำนาญงานพิเศษ อาวุโส 15,410 15,410 15,410 7/1 7/1 7/1 27,500 6/H 33,540 7/H 33,540 7/H ประสบการณ์ 5,6 / ชำนาญการ 6 ประสบการณ์ 5,6 / ชำนาญการ6 ชำนาญงาน ประสบการณ์ /ชำนาญการ (5-6) ชำนาญงาน 10,190 5/1 10,190 5/1 10,190 5/1 18,190 18,190 4/H 18,190 4/H 4/H ประสบการณ์ 4 ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงาน ปฏิบัติการ ปฏิบัติการระดับต้น (1-3 ) (2,4) /ประสบการณ์ 4 (1-4) ปฏิบัติการระดับต้น 1-3 , 2-4 4,630 1/1 4,630 1/1 4,630 1/1 ทั่วไป ทั่วไป 22
การเทียบอัตราเงินประจำตำแหน่งการเทียบอัตราเงินประจำตำแหน่ง ของ ก.พ. กับ ก.พ.อ. 23
การเทียบอัตราเงินประจำตำแหน่งของ ก.พ. กับก.พ.อ. ตำแหน่งประเภทวิชาการ ก.พ. ตำแหน่งประเภทวิชาการ ก.พ.อ. เดิมและปรับปรุง ทรงคุณวุฒิ เดิมระดับ11 ศ.ญาณวิทย์ ศ. 11 ศ. เดิมระดับ10 ศ. 9-10 รศ. 9 เชี่ยวชาญ เดิมระดับ9 รศ. รศ.7- 8 ชำนาญการพิเศษ เดิมระดับ8 ผศ. 8 ผศ. ผศ. 6-7 ชำนาญการ เดิมระดับ7 หมายเหตุ ต้องแก้ไขบัญชีแนบท้ายพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง พ.ศ.2538 24
การเทียบอัตราเงินประจำตำแหน่งของ ก.พ. กับก.พ.อ. ตำแหน่งประเภทบริหาร ก.พ.อ. ผู้อำนวยการสำนักงานอธิการบดี หัวหน้าสำนักงานเลขานุการคณะ ผู้อำนวยการกองหรือเทียบเท่า (คงเดิม) ตำแหน่งประเภทอำนวยการ ก.พ. ระดับสูง เดิมระดับ9 ระดับสูง ระดับต้น เดิมระดับ8 ระดับต้น 25
การเทียบอัตราเงินประจำตำแหน่งของ ก.พ. กับก.พ.อ. ตำแหน่งประเภท วิชาชีพเฉพาะหรือ เชี่ยวชาญเฉพาะ ก.พ.อ. (คงเดิม) ตำแหน่งประเภทวิชาการ ก.พ. ทรงคุณวุฒิ เดิมระดับ 11 เดิมระดับ 10 เชี่ยวชาญพิเศษ เชี่ยวชาญ เดิมระดับ 9 เชี่ยวชาญ ชำนาญการพิเศษ เดิมระดับ 8 ชำนาญการพิเศษ ชำนาญการ เดิมระดับ 7 ชำนาญการ หมายเหตุ ต้องแก้ไขพระราชกฤษฎีกาได้รับเงินประจำตำแหน่งฯ พ.ศ.2538 ในการกำหนดสายงานและ ด้านที่มีสิทธิได้รับเงินประจำตำแหน่งตามแนวทางเดียวกับกฎ ก.พ. และเพิ่มเติมให้เหมาะสมกับระบบ ก.พ.อ. 26
ปรับปรุงเฉพาะตำแหน่งวิชาการ เนื่องจากจำแนกตำแหน่งตามวิทยฐานะ โดยให้ตำแหน่งรองศาสตราจารย์ และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ได้รับในอัตราสูง (9,900 และ 5,600 ตามลำดับ) (ขอแก้ไขบัญชีแนบท้ายพระราชบัญญัติเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง) สรุปเงินประจำตำแหน่ง (ก.พ.อ.) 1. อัตราเงินประจำตำแหน่ง 27
2.1 ปรับปรุงกรณีตำแหน่งวิชาการ เพิ่มชื่อศาสตราจารย์ญาณวิทย์ 2.2 ปรับปรุงกรณีตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะและเชี่ยวชาญเฉพาะในการกำหนดสายงานและด้านที่มีสิทธิได้รับเงินประจำตำแหน่งตามแนวทางเดียวกับกฎ ก.พ. และกำหนดเพิ่มเติม ให้เหมาะสมกับระบบ ก.พ.อ. ดังนี้ 2. การกำหนดให้ได้รับเงินประจำตำแหน่ง ขอแก้ไขพระราชกฤษฎีกาการได้รับเงินประจำตำแหน่ง ดังนี้ 28
2.2.1 ตำแหน่งประเภทวิชาชีพเฉพาะ (วช.) ซึ่งรับเงินประจำตำแหน่งตั้งแต่ระดับชำนาญการขึ้นไป กำหนดเพิ่มเติมดังนี้ (1) วิชาชีพเฉพาะกิจกรรมบำบัด (ตามแนวทาง ก.พ.) (2) วิชาชีพเฉพาะเวชศาสตร์การสื่อความหมาย (ตามแนวทาง ก.พ.) (3) วิชาชีพเฉพาะวิศวกรรมเคมี (ตำแหน่ง ก.พ.อ.) (4) วิชาชีพเฉพาะอื่น ที่ ก.พ.อ. กำหนด 29
2.2.2 ตำแหน่งประเภทเชี่ยวชาญเฉพาะ (ชช.) ซึ่งรับเงินประจำตำแหน่งตั้งแต่ระดับเชี่ยวชาญขึ้นไป กำหนดเพิ่มเติมดังนี้ (1) ด้านวิชาการตรวจสอบภายใน (ตามแนวทาง ก.พ.) (2) ด้านวิชาการเงินและบัญชี (ตามแนวทาง ก.พ.) (3) ด้านประชาสัมพันธ์ (ตามแนวทาง ก.พ.) (4) ด้านวิชาการช่างศิลป์ (ตามแนวทาง ก.พ.) (5) ด้านสุขศึกษา (ตามแนวทาง ก.พ.) (6) ด้านวิชาการช่างทันตกรรรม (ตำแหน่ง ก.พ.อ.) (7) ด้านอื่นๆที่ ก.พ.อ.กำหนด 30
การปรับระบบบริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการที่ดำรงตำแหน่งแตกต่างจากโครงสร้างตำแหน่งที่ ก.พ.อ. กำหนด 31
หลักการ 1. กำหนดเป็นตำแหน่งตามโครงสร้างตำแหน่งที่ ก.พ.อ.กำหนด พิจารณาจากหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ 2. คงสิทธิประโยชน์ที่ได้รับอยู่เดิม ขอความเห็นชอบ จากคณะรัฐมนตรี 32
กรณีดำรงตำแหน่งแตกต่างจากกรณีดำรงตำแหน่งแตกต่างจาก โครงสร้างตำแหน่งที่ ก.พ.อ.กำหนด • ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยเดิม • เจ้าหน้าที่บริหารงานด้านต่าง ๆ • เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ 33
2. ตำแหน่งข้าราชการประเภทอื่น 2.1 ตำแหน่งข้าราชการพลเรือนสามัญ • ตำแหน่งพยาบาลวิชาชีพด้านการสอน • ตำแหน่งวิทยาจารย์ 2.2 ตำแหน่งข้าราชการครู • อาจารย์ 3 2.3 ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา • ตำแหน่งครู คศ. • ตำแหน่งครูผู้ช่วย (กำหนดเป็นตำแหน่งครูชั่วคราว) • ตำแหน่งผู้อำนวยการ/รองผู้อำนวยการสถานศึกษา 34
ขอบคุณ ผู้เข้าร่วมประชุมทุกท่าน และโปรดให้ข้อเสนอแนะ เพื่อการปรับปรุงต่อไป