1 / 38

คณะวิทยาศาสตร์ พบ คณะกรรมการพิจารณางบประมาณ 2551 ของมหาวิทยาลัย วันที่ 28 พฤศจิกายน 2549

คณะวิทยาศาสตร์ พบ คณะกรรมการพิจารณางบประมาณ 2551 ของมหาวิทยาลัย วันที่ 28 พฤศจิกายน 2549. คณะวิทยาศาสตร์. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Faculty of Science, Prince of Songkla University. www.sc.psu.ac.th. วิสัยทัศน์.

sophie
Télécharger la présentation

คณะวิทยาศาสตร์ พบ คณะกรรมการพิจารณางบประมาณ 2551 ของมหาวิทยาลัย วันที่ 28 พฤศจิกายน 2549

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คณะวิทยาศาสตร์พบคณะกรรมการพิจารณางบประมาณ 2551 ของมหาวิทยาลัย วันที่ 28พฤศจิกายน 2549

  2. คณะวิทยาศาสตร์

  3. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th วิสัยทัศน์ คณะวิทยาศาสตร์จะเป็นคณะที่ผลิตบัณฑิตชั้นนำของประเทศ และสร้างความเป็นเลิศด้านการวิจัยเฉพาะทาง พันธกิจ ผลิตบัณฑิตวิทยาศาสตร์ให้มีความรู้คู่คุณธรรม ถ่ายทอดและบริการวิชาการที่ถูกต้องทันสมัย วิจัยเน้นการพัฒนาภาคใต้ มุ่งสู่มาตรฐานระดับสากล

  4. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th บุคลากรคณะวิทยาศาสตร์ (539คน) 265 คน 274 คน 49.34% สายสนับสนุน สาย ก 50.66% 2 คน , 0.75% 47 คน , 17.67 % 76 คน , 28.57 % 141 คน , 53.01 % ข้อมูลวันที่ 30 ตุลาคม 2549

  5. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th จำนวนอาจารย์แยกตามวุฒิการศึกษา (274คน) 25 คน , 9.02 % 123 คน , 44.74 % 126 คน , 46.24 % 353 คน , 9.63 % 87 คน , 2.37 % 241 คน, 6.57 % 2,984 คน , 81.43 % จำนวนนักศึกษา ปีการศึกษา 2549(3,665คน) ข้อมูลวันที่ 30 ตุลาคม 2549

  6. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th หลักสูตรที่เปิดสอน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ.) 12สาขา หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) 20 สาขา (1หลักสูตรนานาชาติ-นิเวศวิทยา) หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) 9 สาขา

  7. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th หลักสูตรระดับปริญญาตรี 12สาขา ประเภทวิชาวิทยาศาสตร์ชีวภาพ ประเภทวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพ 1. สาขาวิชาคณิตศาสตร์2. สาขาวิชาเคมี3. สาขาวิชาฟิสิกส์4. สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์5. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์6. สาขาสถิติ7. สาขาวัสดุศาสตร์8. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป - คู่วิชาคณิตศาสตร์-ฟิสิกส์ - คู่วิชาเอกคณิตศาสตร์-เคมี - คู่วิชาเอกเคมี-ฟิสิกส์ 9. สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1. สาขาวิชาชีววิทยา2. สาขาวิชาจุลชีววิทยา3. สาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ4. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป - คู่วิชาเคมี-ชีววิทยา หลักสูตรต่อเนื่อง 2 ปี สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ(ต่อเนื่อง)

  8. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th หลักสูตรระดับปริญญาโท 20สาขา 1. กายวิภาคศาสตร์ 2. คณิตศาสตร์และสถิติ 3. เคมีเชิงฟิสิกส์ 4. เคมีศึกษา 5. เคมีอินทรีย์ 6. เคมีอนินทรีย์ 7. เคมีวิเคราะห์ 8. จุลชีววิทยา 9. ชีวเคมี 10. ชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ 11. ธรณีฟิสิกส์ 12. นิติวิทยาศาสตร์ 13. นิเวศวิทยา (นานาชาติ) 14. วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีพอลิเมอร์ 15. ฟิสิกส์ 16. เภสัชวิทยา 17. วิทยาการคอมพิวเตอร์ 18. พฤกษศาสตร์ 19. สัตววิทยา 20. สรีรวิทยา

  9. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th หลักสูตรระดับปริญญาเอก 9สาขา 1. เคมี 2. เคมีอินทรีย์ 3. จุลชีววิทยา 4. ชีวเคมี 5. ชีววิทยา 6. ชีววิทยาโมเลกุลและชีวสารสนเทศ 7. ฟิสิกส์ 8. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีพอลิเมอร์ 9. สรีรวิทยา

  10. เป้าหมายดำเนินงานปี 2550 - 2552 ด้านการวิจัยและบัณฑิตศึกษา ด้านการเรียนการสอน ด้านการบริหารจัดการ

  11. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th เป้าหมายด้านวิจัยและบัณฑิตศึกษา จำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาไม่ต่ำกว่าร้อยละ 30 ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี นักศึกษาบัณฑิตมีคุณภาพและมีสมรรถนะสากล อาจารย์ทำวิจัยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ของอาจารย์ทั้งคณะ จำนวนผลงานตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติไม่ต่ำกว่า 0.55 เรื่องต่อคนต่อปี มีสาขาความเป็นเลิศเฉพาะทางที่เป็นจุดเด่นของคณะ เป็นศูนย์กลางของเอเซียอาคเนย์ในบางสาขา มีนวัตกรรมขององค์ความรู้ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้

  12. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th เป้าหมายด้านการเรียนการสอน Curiosity Skepticism Commitment to hard work Creativity

  13. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th เป้าหมายด้านการบริหารจัดการ คณะวิทยาศาสตร์มีระบบบริหารที่ตระหนักใน “ธรรมาภิบาล” คณะวิทยาศาสตร์เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ คณะวิทยาศาสตร์ใช้ Knowledgeในการจัดการการบริหาร และสืบทอดองค์ความรู้ขององค์กร คณะวิทยาศาสตร์เป็น Quality driven organizationหรือ Organizational excellence

  14. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th แผนการดำเนินงาน 1.ปรับปรุงการเรียนการสอนให้เป็นแบบInquiryและเชิงบูรณาการ 2. ปรับให้มีการเรียนการสอนเป็นภาษาอังกฤษเพิ่มขึ้น และเสริมทักษะด้านภาษาอังกฤษให้ทั้งผู้สอน และผู้เรียน 3.พัฒนาสื่อการสอนด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง 4.จัดระบบสนับสนุน ทั้งงบประมาณ ความสะดวกในการเข้าถึงอุปกรณ์เครื่องมือ รวมถึงการจัดสรรภาระงานที่เหมาะสมเพื่อให้อาจารย์/นักวิจัย/นักศึกษาทำวิจัยได้เต็มที่

  15. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th แผนการดำเนินงาน 5.หาจุดเด่นทางวิชาการของคณะฯเพื่อให้การสนับสนุนสร้างความเป็นเลิศด้าน การวิจัยเฉพาะทางซึ่งเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ของชาติ ซึ่งท้ายที่สุดต้องเชื่อมโยง กับปัญหาระดับโลก 6.สร้างความเข้มแข็งให้กับบัณฑิตศึกษา ทั้งระดับปริญญาโท และปริญญาเอกซึ่งเป็นฐานสำคัญที่สุดในการสร้างงานวิจัย 7.พัฒนาเครือข่ายวิจัยร่วมกับหน่วยงานอื่นทั้งภายในและภายนอกสถาบันเพื่อการทำงานแบบผสมผสาน และร่วมมือ 8.ใช้กลไก วิเทศสัมพันธ์เป็นตัวขับเคลื่อนให้เกิดการทำงานร่วมกับนักวิจัยต่างชาติซึ่งจะนำไปสู่ความเข้มแข็งทางวิชาการและสร้างบัณฑิตที่มีมาตรฐานและมีสมรรถนะสากล

  16. P R I N E C คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th คณะวิทยาศาสตร์จะใช้ยุทธศาสตร์การบริหาร คือ PRINCE Participationการบริหารโดยให้ประชาคมมีส่วนร่วม Research-mindednessจิตวิจัย / จิตวิทยาศาสตร์ Internationalizationการรู้จักสมาคมกับสถาบันอุดมศึกษาทุกชาติทุกภาษาITC (Information Technology & Communication) Networkingการแสวงหาความร่วมมือจากสถาบันอุดมศึกษาในภูมิภาค Care การเอื้ออาทรกันในหมู่คณะ Excellenceการทำงานเพื่อให้ได้คุณภาพและมาตรฐานในระดับเป็นเลิศ

  17. ผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาและเป้าหมายผลผลิตในปี 2550

  18. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th ผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาและเป้าหมายผลผลิตในปี 2550 การได้งานทำ ประกอบอาชีพอิสระ และศึกษาต่อ ของบัณฑิตระดับปริญญาตรี ผลการดำเนินงาน 2548 2549 2550 รวมบัณฑิตที่ได้งานทำ (ไม่นับรวมศึกษาต่อ) 89.64 83.38 %ได้งานทำ (ราย) 63.34 (216) 56.60 (279) %ประกอบอาชีพอิสระ (ราย) 2.52 (9) 1.42 (7) %ศึกษาต่อ (ราย) 29.89 (107) 30.43 (150)

  19. ผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาและเป้าหมายผลผลิตในปี 2550 จำนวน นศ. ที่รับเข้าใหม่ จำนวน นศ.ทั้งหมด และจำนวนบัณฑิต

  20. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th ผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาและเป้าหมายผลผลิตในปี 2550 ระยะเวลาเรียนเฉลี่ย

  21. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th ผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาและเป้าหมายผลผลิตในปี 2550 การเผยแพร่ผลงานวิชาการของอาจารย์

  22. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th ผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาและเป้าหมายผลผลิตในปี 2550 ร้อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาโทและปริญญาเอกที่ตีพิมพ์เผยแพร่ (52) (38) (95) (2) (91) (19) (จำนวนบทความ)

  23. ปัญหาอุปสรรคในปีที่ผ่านมา

  24. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th ปัญหาอุปสรรคในปีที่ผ่านมา • ขาดแคลนพื้นที่สำหรับห้องปฏิบัติการพื้นฐาน • ห้องปฏิบัติการสาขาเคมี • ห้องปฎิบัติการสาขาฟิสิกส์ • ห้องปฏิบัติการสาขาชีววิทยา • ห้องปฏิบัติการสาขาคอมพิวเตอร์ ขาดแคลนพื้นที่สำหรับห้องวิจัยเฉพาะทาง พื้นที่สำหรับขยายงานด้านวิจัยและบัณฑิตศึกษาของภาควิชา/หลักสูตร ขาดแคลนพื้นที่สำหรับรองรับหลักสูตรที่เปิดเพิ่มได้แก่ วัสดุศาสตร์ นิติวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ จีโนมและชีวสารสนเทศ สถานวิจัย และหน่วยวิจัยเฉพาะทาง

  25. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th ปัญหาอุปสรรคในปีที่ผ่านมา การดูแลห้องบรรยายขนาดใหญ่ที่ใช้ร่วมกันทั้งมหาวิทยาลัย (L1-L5และ NMLบางส่วน) ก่อให้เกิดค่าใช้จ่ายเป็นจำนวนมากทั้งในเรื่องของระบบสาธารณูปโภค การจ้างเหมาทำความสะอาด (ลูกจ้างประจำหายไป ไม่ได้รับการจัดสรรทดแทน) การซ่อมแซมบำรุงรักษาอุปกรณ์และสื่อสมัยใหม่ชนิดต่าง ๆ และการจัดหาครุภัณฑ์-สื่อประจำห้องบรรยาย มีจำนวนอาจารย์ที่เข้าสู่วัยเกษียณจำนวนมาก คณะฯไม่สามารถพัฒนาอาจารย์ใหม่มารองรับได้ทัน

  26. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th

  27. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th ปัญหาอุปสรรคในปีที่ผ่านมา คณาจารย์มีภาระงานสอนสูงมากทำให้ไม่มีเวลาในการทำวิจัยหรือพัฒนาตนเอง ข้อมูล: ภาคการศึกษาที่ 2/48+1/49

  28. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th การแก้ปัญหาที่เกิดจากข้อจำกัดเรื่องพื้นที่ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในเรื่องข้อจำกัดของพื้นที่ใช้สอย • ต่อเติมดาดฟ้าอาคารภาควิชาภาษาต่างประเทศเพื่อแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ให้กับภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ • กั้นห้องเพิ่มเติมในอาคารเดิมสำหรับเป็นห้องพักอาจารย์ ห้องโครงงานนักศึกษา • ปรับปรุงห้องปฏิบัติการที่สามารถขยายพื้นที่ได้ให้สามารถรองรับนักศึกษาเพิ่มขึ้น แผนการแก้ปัญหาระยะยาว • ขอตั้งงบประมาณ อาคารเรียนและปฏิบัติการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ในปีงบฯ 50 พื้นที่ 14,640 ตารางเมตร

  29. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th การแก้ปัญหาเรื่องอาจารย์มีภาระงานสอนสูง ทำให้มีเวลาทำวิจัยน้อย 1. จัดสรรทุน ช่วยสอนให้กับภาควิชา/หลักสูตร ตามประกาศมหาวิทยาลัย 2.คณะฯกำหนดหลักเกณฑ์มาตรฐานภาระงานของอาจารย์ ภายใต้ประกาศมหาวิทยาลัย เรื่องมาตรฐานภาระงานข้าราชการสาย ก และพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ โดยให้ อาจารย์แต่ละคนสามารถเลือกที่จะเน้นในภารกิจด้านการสอน ด้านการวิจัย หรือด้าน การสอนและวิจัย ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของภาควิชา/หลักสูตรที่สังกัด 3.ส่งเสริมการพัฒนาสื่อการสอนในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งในรูปของ CAI และ Virtual Classroom 4.สนับสนุนให้อาจารย์มีความสะดวกในการจัดการเรียนการสอน โดยการนำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ทั้งในห้องบรรยายและเตรียมปฏิบัติ

  30. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th การแก้ปัญหาด้านอัตรากำลังที่หายไปและไม่ได้รับการทดแทน (ลูกจ้างประจำ) 1.จ้างลูกจ้างชั่วคราวในตำแหน่งที่เป็นงานสนับสนุนวิชาการ 2.จ้างเหมาเอกชนในงานบริการกลาง เช่น การทำความสะอาดพื้นที่อาคาร การให้บริการรถรับ-ส่งสนามบิน การดูแลบำรุงรักษาเครื่องปรับอากาศ

  31. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th งบประมาณที่จำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ 2551 1.อาคารเรียนและปฏิบัติการพื้นฐาน 1 หลัง พื้นที่ 14,640ตารางเมตร สำหรับแก้ปัญหา ระยะยาวในกิจกรรมหลัก ๆ ดังนี้ • ใช้เป็นพื้นที่รองรับปฏิบัติการพื้นฐาน • ใช้เป็นพื้นที่ห้องเรียนรวม • ใช้เป็นพื้นที่ห้องปฏิบัติการวิจัยของภาควิชา • ใช้เป็นพื้นที่ของหน่วยวิจัยเฉพาะทาง • ใช้เป็นพื้นที่รองรับการขยายงานในหลักสูตรเดิมและหลักสูตรใหม่ • โรงอาหาร • สถานวิจัยและหน่วยวิจัยเฉพาะทาง

  32. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th งบประมาณที่จำเป็นอย่างยิ่งต่อการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ 2551 2. ซ่อมแซมหลังคาและเปลี่ยนกระเบื้องยางของห้องบรรยายอาคารเรียน NML • ขนาดพื้นที่หลังคา 19.50 x 24.50 ม. • ขนาดพื้นที่ห้องบรรยาย 960 ตารางเมตร • งบประมาณ 1.34 ล้านบาท 3. งบประมาณสำหรับการดูแลห้องบรรยายขนาดใหญ่ที่ใช้ร่วมกันทั้งมหาวิทยาลัย (L1-L5และNMLบางส่วน)ทั้งในเรื่องของค่าใช้จ่ายด้านสาธารณูปโภค การจ้างเหมาทำความ สะอาด การซ่อมแซม การบำรุงรักษาอุปกรณ์และสื่อสมัยใหม่ชนิดต่าง ๆ และการจัดหา ครุภัณฑ์-สื่อประจำห้องบรรยาย 4. ครุภัณฑ์สำหรับรองรับงานด้านวิจัยและบัณฑิตศึกษา โดยเฉพาะครุภัณฑ์ตามโครงการ ที่ได้ตกลงไว้กับมหาวิทยาลัย

  33. หน่วยงานอื่นของคณะวิทยาศาสตร์ ที่ขอสนับสนุนงบประมาณจากมหาวิทยาลัย

  34. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th พิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยา 50พรรษา สยามบรมราชกุมารี ขอรับการสนับสนุน หมวดดำเนินการและอัตรากำลัง

  35. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th สถานวิจัยจีโนมและชีวสารสนเทศ Center for Genomics and Bioinformatics Research, CGB ถอดรหัสพันธุกรรมกุ้ง เพื่อประโยชน์ในการแยกสายพันธุ์และหาวิธีเสริมสร้างพันธุ์ที่แข็งแรง ผลิตสารชีวภาพเพื่อเสริม ความต้านทานโรคของกุ้ง ถอดรหัสพันธุกรรมปาล์มน้ำมัน เพื่อหาวิธีตรวจสอบพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูง

  36. Paleontology Research Group Terrestrial Research Group Molecular Biology Research Group คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th Aquatic Research Group ศูนย์ความหลากหลายทางชีวภาพแห่งคาบสมุทรไทย

  37. คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์Faculty of Science, Prince of Songkla University.www.sc.psu.ac.th สถานวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเมมเบรน ผลิตอุปกรณ์สำหรับห้องวิจัย Cellulose membrane เซลลูโลสอะซิเตด สำหรับกรองเกลือ/สี/โลหะ

More Related