1 / 23

การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม (Total Quality Management/ TQM)

การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม (Total Quality Management/ TQM). โดย นางสถาพร สังข์ขาว รองผู้อำนวยการฝ่ายธุรกร โรงเรียนดอนสักผดุงวิทย์. เรื่องที่จะนำเสนอเกี่ยวกับ TQM. ความหมายของคุณภาพ ความหมายของ TQM วิวัฒนาการของ TQM แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ TQM วัตถุประสงค์ของ TQM หลักการของ TQM

Télécharger la présentation

การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม (Total Quality Management/ TQM)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารคุณภาพโดยส่วนรวม(Total Quality Management/ TQM) โดย นางสถาพร สังข์ขาว รองผู้อำนวยการฝ่ายธุรกร โรงเรียนดอนสักผดุงวิทย์

  2. เรื่องที่จะนำเสนอเกี่ยวกับ TQM • ความหมายของคุณภาพ • ความหมายของ TQM • วิวัฒนาการของ TQM • แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ TQM • วัตถุประสงค์ของTQM • หลักการของ TQM • เทคนิคของ TQM

  3. เรื่องที่จะนำเสนอเกี่ยวกับ TQM (ต่อ) • เครื่องมือพื้นฐานสำหรับ TQM • TQM กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในองค์การ • ผลกระทบของ TQM • ยุทธวิธีที่จะทำให้ TQM สัมฤทธิ์ผล • ทีมบริหารคุณภาพ • การทำงานของทีมบริหารคุณภาพ • สภาพปัจจุบันของความเคลื่อนไหวเรื่องคุณภาพที่เกี่ยวกับ TQM

  4. ความหมายของ “คุณภาพ” • คุณภาพคือความพอดี / ความเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ • คุณภาพจะต้องกระทำให้ดีในขั้นตอนแรกโดยไม่มีข้อบกพร่อง • คุณภาพคือคุณลักษณะของสินค้าที่ถูกกำหนดไว้ภายใต้เงื่อนไขของราคาที่เหมาะสม • คุณภาพคือการยอมรับของลูกค้า • คุณภาพ คือ ความเป็นเลิศในตัวเอง สรุป คุณภาพหมายถึง ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์การ องค์การต้องสนองความต้องการของลูกค้าให้ตรงกับความคาดหวังของลูกค้าหรือสูงกว่าความคาดหวัง

  5. ความหมายของ TQM(Total Quality Management) TQM หรือ การบริหารคุณภาพแบบทั่วทั้งองค์กร หมายถึง การบริหารจัดการขององค์การที่มุ่งเน้นคุณภาพทั้งองค์การ โดยนำศาสตร์ต่างๆมาใช้ปฏิบัติงานเพื่อสร้างความเชื่อถือและคุณค่าที่ลูกค้าพึงได้รับ รวมถึงวิธีการจัดการปรับปรุงประสิทธิภาพ ความคล่องตัวและความสามารถในการแข่งขันของทั้งองค์การ

  6. คุณภาพตามความหมายของ TQM • คุณภาพ ( Quality = Q ) • ต้นทุน ( Cost = C ) • การส่งมอบ ( Delivery = D ) • ความปลอดภัย ( Safety = S ) • ขวัญของพนักงาน ( Morale = M )

  7. วิวัฒนาการของ TQM • เริ่มที่ประเทศสหรัฐอเมริกา • เริ่มจาก การควบคุมคุณภาพ (Quality Control =QC) • แพร่หลายและพัฒนาอย่างจริงจังในประเทศญี่ปุ่น เรียกว่า “วงจรการควบคุมคุณภาพ (Quality Control Circle =QCC )” • พัฒนาเป็นการครอบคลุมทั้งองค์การ เรียกว่า “การควบคุมคุณภาพโดยรวม (Total Quality Control = TQC) • พัฒนาเป็นการบริหารคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management) ในประเทศสหรัฐอเมริกา

  8. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับ TQM • เดมิ่ง (W.Edwards Deming) • จูรัน (Josseph M. Juran) • ไฟเก็นบาม (Arnand Feigenbaum) • ครอสบี ( Philip Crosby) • ดอทชินและโอคแลนดส์ (Dotchin and Oaklands) • อิชิกาวา (Kaoru Ishikawa) • ทากูชิ (Genichi Taguchi)

  9. วัตถุประสงค์ของ TQM • เพื่อพัฒนาบุคลากรในองค์การให้สามารถใช้ศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่ ด้วยการมีส่วนร่วมในการปรับปรุงงานคุณภาพของสินค้าหรือบริการ • เพื่อปรับปรุงคุณภาพของสินค้าหรือบริการให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง อันทำให้ลูกค้าเกิดความพอใจ

  10. หลักการของ TQM • TQM เป็นปรัชญาของความมุ่งมั่นที่จะร่วมกันในการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นทำงานเป็นทีม เพื่อเพิ่มความพอใจให้แก่ลูกค้าและลดต้นทุน • วิธีการทำงานขของ TQM • ทำอย่างมีหลักการ (Scientific) • ทำอย่างมีระบบ (Systematic) • ทำอย่างทั่วถึง (Total or Company-wide)

  11. เทคนิคของ TQM • วงจรคุณภาพ (Quality Circle : QC) • การมอบอำนาจ (Empowerment) • การเปรียบเทียบ (Benchmarking) • การใช้แหล่งภายนอก (Outsourcing) • การลดรอบระยะเวลา (Reduced Cycle Time) • การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement)

  12. เครื่องมือพื้นฐานสำหรับ TQM • แผนผังแสดงเหตุและผล (Cause-and-Effect Diagrams) • แผนผังแสดงกระบวนการ (Flow Charts or Process-Flow Diagrams) • แผนภูมิพาเรโต (Pareto Charts or Bar Chars) • รันชาร์ท (Run Charts) or (Trend Charts) • ฮิสโตแกรม (Histogram) • แผนผังการกระจาย (Scatter Diagrams) • แผนภูมิการควบคุม (Control Chart)

  13. TQM กับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในองค์การ • TQM กับการบริหารจัดการ • TQM กับการเปลี่ยนแปลงเจตคติ • TQM กับการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมองค์การ • TQM กับผลที่มีต่อบริษัทหรือองค์การ

  14. ผลกระทบของ TQM

  15. ขั้นตอนในการนำ TQM ไปปฏิบัติให้บังเกิดผลดีต่อองค์การ • สร้างแนวคิดพื้นฐาน • กำหนดแนวทางการนำไปปฏิบัติ • ปลูกผังให้เป็นวัฒนธรรมองค์การ • สร้างระบบการยอมรับและการให้รางวัล • พัฒนาผู้นำและการสร้างทีมงาน

  16. ขั้นตอนในการนำ TQM ไปปฏิบัติให้บังเกิดผลดีต่อองค์การ (ต่อ) • พัฒนาทักษะในการจัดการ • พัฒนาความรู้ด้านเทคนิคที่สำคัญ • พัฒนาความรู้ด้านเทคนิคชั้นสูง • มุ่งความสนใจไปที่ลูกค้า • สร้างวิทยากรภายใน

  17. ยุทธวิธีที่จะทำให้ TQM สัมฤทธิผล • ภาวะความเป็นผู้นำ • ความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้จัดส่งสินค้ากับลูกค้า • การประสานสัมพันธ์กันของทีมงานในองค์การ • การเทียบวัด • วิธีการเจรจาที่ชนะทั้งคู่ • ISO 9000

  18. ทีมบริหารคุณภาพ • ย่อมาจาก Quality Management Team • หมายถึง คณะกรรมการที่จัดตั้งขึ้นโดยผู้บริหารสูงสุดขององค์การหรือหน่วยงานนั้นๆ • ประกอบด้วย ผู้จัดการ รองผู้จัดการ หัวหน้าส่วนทุกส่วน หัวหน้าฝ่าย โดยมีจำนวนไม่จำกัด

  19. การทำงานของทีมบริหารคุณภาพการทำงานของทีมบริหารคุณภาพ • ขั้นที่ 1 การวางแผน • ขั้นที่ 2 การดำเนินกาน • ขั้นที่ 3 การตรวจสอบ • ขั้นที่ 4 การแก้ไขใหม่อีกรอบ • ขั้นที่ 5 การกำหนดมาตรการป้องกัน

  20. สภาพปัจจุบันของความเคลื่อนไหวเรื่องคุณภาพที่เกี่ยวกับ TQM • ระบบ TQM แบบญี่ปุ่น • ระบบ TQM แบบยุโรป • ระบบ TQM แบบอเมริกา

  21. TQM แบบญี่ปุ่น • นโยบาย • การบริหารองค์การและการปฏิบัติงาน • การศึกษา • การรวบรวมการใช้ และการสื่อสารของสารสนเทศต่างๆในองค์กร • การวิเคราะห์ • มาตรฐาน • การควบคุม/จัดการ • การประกันคุณภาพ • ผลลัพธ์

  22. TQM แบบยุโรป • ความเป็นผู้นำ • นโยบายและยุทธศาสตร์ • การบริหารทรัพยากรมนุษย์ • ทรัพยากรอื่นๆ • กระบวนการ • ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ • ผลกระทบต่อประชาชนและพนักงาน • ผลกระทบต่อสังคม • ผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจ

  23. TQM แบบอเมริกา • ความเป็นผู้นำ • การบริหารสารสนเทศและข้อมูล • การวางแผนยุทธศาสตร์ • การบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ • การบริหารกระบวนการ • ผลลัพธ์ • การมุ่งเน้นลูกค้าและความต้องการของ Stakeholder

More Related