1 / 15

Population genetic

Population genetic. พันธุศาสตร์ประชากร. มอง genetic ในภาพรวมของประชากรว่ามีค่ามากน้อย แค่ไหน. เป็นการศึกษายีนในระดับประชากร … ว่ามีการกระจายของยีนในภาพรวมของประชากรอย่างไร.

Télécharger la présentation

Population genetic

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Population genetic พันธุศาสตร์ประชากร

  2. มอง genetic ในภาพรวมของประชากรว่ามีค่ามากน้อย แค่ไหน • เป็นการศึกษายีนในระดับประชากร … ว่ามีการกระจายของยีนในภาพรวมของประชากรอย่างไร

  3. โดยทำการประเมินจาก f(gene) และ f(genotype) ซึ่งเป็นการศึกษาวิวัฒนาการของสัตว์ (Evolution) ซึ่งจะเป็นพื้นฐานของการคัดเลือก และการผสมพันธุ์ • Evolution เป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง f(gene) และ f(genotype)

  4. Evolution การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับกลุ่มประชากร ไม่ใช่สัตว์ตัวใดตัวหนึ่ง ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงใหม่ที่เกิดในประชากร จะเป็นวิวัฒนาการได้ ต้องมีการเปลี่ยนแปลงความถี่ของ gene และ genotype

  5. ปัจจัยที่มีผลต่อความถี่ยีนและยีโนไทป์ ตัวอย่าง • อิทธิพลของ co-dominant และ incomplete dominant กำหนดให้ยีน R = ควบคุมสีแดง, r = สีขาว โดย R>r ไม่สมบูรณ์ ดังนั้นลูกที่เกิดจากการผสมพ่อแม่Rr x Rr จะมี genotype 3 แบบ Phenotype Genotype จำนวนสัตว์ สีแดง RR 800 สีโรนRr 150 สีขาว rr 50

  6. Phenotype Genotype จำนวนสัตว์ สีแดง RR 800 สีโรนRr 150 สีขาว rr 50 1000 ความถี่ยีโนไทป์f(genotype) = จำนวนสัตว์ที่มียีโนไทป์นั้นๆจำนวนสัตว์ทั้งหมด D = f(RR) = 80/1000 = 0.80 H = f(Rr) = 150/1000 = 0.15 R = f(rr) = 50/1000 = 0.05 ความถี่ยีโนไทป์ที่คำนวณได้

  7. ดังนั้น D + H + R = 1 (0.8 + 0.15 + 0.05) D = f(RR) = 800/1000 = 0.80 H = f(Rr) = 150/1000 = 0.15 R = f(rr) = 50/1000 = 0.05 D = Homozygous dominance H = Heterozygous R = Homozygous recessive

  8. การหาความถี่ยีน • f(R) = p = D+ ½H • f(r) = q = R + ½H • Gene frequency = • จำนวนยีนที่กำหนด • จำนวนยีนทั้งหมดในประชากร

  9. Hardy-Weinberg law (กฎภาวะสมดุลของยีน) Gene equilibrium (ภาวะสมดุลของยีน) คือ ภาวะที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงภาวะของยีน และยีโนไทป์ ไม่ว่าจะมีการผสมพันธุ์อย่างสุ่มต่อไปกี่รุ่น

  10. ในประชากรที่มีการผสมพันธุ์แบบสุ่ม (random mating) • โดยที่ไม่มีการคัดเลือก(selection), • ไม่มีการกลายพันธุ์ (mutation), • ไม่มีการอพยพ (migration) • ไม่อยู่ในสภาพประชากรกลุ่มเล็ก(genetic drift) เข้ามาเกี่ยวข้อง ความถี่ของยีนในรุ่นลูกสามารถวัดได้จากความถี่ในรุ่นพ่อแม่ • ความถี่ของยีน และgenotype มีค่าคงที่ จากรุ่นหนึ่งไปสู่อีกรุ่นหนึ่ง หรือเรียกว่าประชากรเข้าสู่สภาพสมดุล(equilibrium) เป็นตามกฎ • ของ Hardy-Weinberg

  11. ความถี่ genotype หลังการผสมพันธุ์จะมีค่า ดังนี้ D = p2 H = 2pq R = q2 เมื่อ p และ q เป็นความถี่เริ่มต้น

  12. ตัวอย่าง • กำหนดให้ความถี่รุ่นพ่อแม่ของยีน R(p) = 0.875 และ r (q) =0.125 • การหาความถี่ genotype ของลูกรุ่น F1 จะเป็นดังนี้ถ้าเข้ากฎของ HW • D = f(RR) = p2 = (0.875)2= 0.766 • H = f(Rr) = 2pq = 2(0.875)(0.125) =0.218 • R = f(rr) = q2 = (0.125)2= 0.016

  13. ความถี่ยีน ในรุ่น F1 • f(R) = 0.766 + ½(0.218) = 0.875 • f(r) = 0.016 + ½ (0.218) = 0.125 • ข้อสังเกต • f(gene) ในลูกรุ่น F1 จะเท่ากับ f(gene) ของพ่อแม่

  14. ตัวอย่าง การข่มแบบสมบูรณ์ (complete dominant) กำหนดให้ยีน d = ควบคุมลักษณะแคระในโคเนื้อ D = ควบคุมลักษณะรูปร่างปกติ โดย D>d อย่างสมบูรณ์ ผลปรากฏว่ามีโคแคระอยู่ 9 ตัว จาก 625 ตัว จงคำนวณความถี่ genotype และ ความถี่ gene

More Related