1 / 50

บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Theory)

บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Theory). ความพึงพอใจหรืออรรถประโยชน์ (Utility). [ การบริโภค ]. =. Fn. =. Fn. ฯลฯ. ความพึงพอใจหรืออรรถประโยชน์ (Utility). มูลค่าของเงินที่จ่ายไปต้องคุ้มค่ากับของที่ได้มา. ความพึงพอใจหรืออรรถประโยชน์ (Utility). เงินให้ความพึงพอใจแก่เราไหม?.

Télécharger la présentation

บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Theory)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค(Consumer Theory)

  2. ความพึงพอใจหรืออรรถประโยชน์ (Utility) [การบริโภค] = Fn = Fn ฯลฯ

  3. ความพึงพอใจหรืออรรถประโยชน์ (Utility) มูลค่าของเงินที่จ่ายไปต้องคุ้มค่ากับของที่ได้มา

  4. ความพึงพอใจหรืออรรถประโยชน์ (Utility) เงินให้ความพึงพอใจแก่เราไหม? รถให้ความพึงพอใจแก่เราไหม?

  5. ความพึงพอใจหรืออรรถประโยชน์ (Utility) การตัดสินใจว่าจะซื้อหรือไม่ขึ้นอยู่กับ “อรรถประโยชน์ของเงินที่มีมูลค่าเท่ากับ ราคาสินค้าที่เราต้องจ่าย” กับ “อรรถประโยชน์ของสินค้าที่เราจะได้รับจากการ เป็นเจ้าของ”

  6. พฤติกรรมผู้บริโภค สมมติฐาน: ผู้บริโภคเป็นผู้มีเหตุผล (Rational Consumers) เลือกบริโภคเพื่อให้ตนเกิดความพอใจสูงสุดจากเงินที่มีอยู่อย่างจำกัด

  7. พฤติกรรมผู้บริโภค สินค้าและบริการที่เราศึกษาในหัวข้อนี้คือ “เศรษฐทรัพย์ (Economic Goods)” นั่นคือ สินค้าและบริการจะมี “ราคา” และให้ความ “พอใจ” แก่ผู้บริโภค

  8. ทฤษฎีผู้บริโภคมี 2 ทฤษฎี • ทฤษฎีอรรถประโยชน์(Utility Theory or Cardinal theory): ความพึงพอใจสามารถวัดออกมาเป็นตัวเลขได้ (มีหน่วยเป็น Util) • ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน(Indifferent Curve Theory or Ordinal Theory): ความพึงพอใจไม่สามารถวัดออกมาเป็นตัวเลขได้ บอกได้เพียงว่าสินค้าและบริการใดให้ความพอใจมากกว่าหรือน้อยกว่า

  9. ทฤษฎีผู้บริโภคมี 2 ทฤษฎี (ต่อ) ทฤษฎีอรรถประโยชน์ ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน พอใจมาม่า =30 utils พอใจยำยำ =18 utils ดังนั้นพอใจมาม่ามากกว่ายำยำ =12utils พอใจมาม่ามากกว่ายำยำ

  10. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ • มนุษย์จะทำตามความพึงพอใจของตนเอง ดังนั้นการซื้อสินค้าและบริการเกิดจากความพึงพอใจที่ได้รับจากการซื้อสินค้าและบริการนั้น • อรรถประโยชน์ (Utility) : ความพึงพอใจที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการ • สินค้าและบริการชนิดเดียวกันในจำนวนเท่ากันอาจให้อรรถประโยชน์ต่างกันได้ เมื่อ (1) ผู้บริโภคต่างกัน (2) เวลาต่างกัน Mercedes Benz ราคา 4.9 ล้านบาท Diahatzu Mira ราคา 2 แสนบาท

  11. 1. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (ต่อ) • ผู้บริโภคจะมีความพึงพอใจสูงสุดเมื่ออรรถประโยชน์ที่ได้รับจากการบริโภคสินค้าและบริการสูงสุด (Maximized Utility)

  12. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (ต่อ) อรรถประโยชน์มี 2 ชนิด คือ • อรรถประโยชน์เพิ่ม (Marginal Utility:MU) ความพอใจที่ผู้บริโภคได้รับเพิ่มขึ้น จากการบริโภคสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย • อรรถประโยชน์รวม (Total Utility:TU) • ผลรวมของอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม(MU)ที่ผู้บริโภคได้รับจากการบริโภคสินค้า ตั้งแต่หน่วยแรกจนถึงหน่วยที่กำลังพิจารณา • TU = MUi

  13. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (ต่อ) ผู้บริโภคจะมีความพอใจสูงสุดเมื่ออรรถประโยชน์รวมสูงสุด (Maximized Total Utilityหรือ Max. TU)

  14. อรรถประโยชน์เพิ่ม (Marginal Utility:MU) ความพอใจที่ได้โค้กแก้วแรก=100 ความพอใจที่ได้โค้กแก้วที่สอง=50 ความพอใจที่ได้โค้กแก้วที่สาม=10 ความพอใจที่ได้โค้กแก้วที่สี่= –20

  15. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (ต่อ) กฎการลดน้อยถอยลงอรรถประโยชน์ส่วนเพิ่ม (Law of Diminishing Marginal Utility) MU จะลดลงเรื่อยๆเมื่อปริมาณสินค้าที่บริโภค (Q) เพิ่มขึ้น จนในที่สุดจะมีค่าติดลบ MU 100 50 -∆MU MU=0 10 4 0 Q=จำนวนแก้ว 1 2 3 -20 +∆Q

  16. อรรถประโยชน์รวม (Total Utility:TU) TU = MU1 + MU2 + MU3 + … + MUn = 100 + 50 + 10 + (-20) = 140 TU , MU max TU 140 TU Max TU ที่ MU=0 100 50 MU MU=0 10 4 0 Q 1 2 3 -20 Qmax

  17. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (ต่อ) ความสัมพันธ์ระหว่าง Marginal Utility (MU) กับ Total Utility (TU) เมื่อ MU≥0 TUเพิ่มขึ้นเมื่อ Q เพิ่มขึ้น (TU จะมี Slope เป็นบวก) เมื่อ MU<0 TU ลดลงเมื่อ Q เพิ่มขึ้น (TU จะมี Slope เป็นลบ) TU , MU max TU TU MU=0 0 Q Qmax MU

  18. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (ต่อ) MU=∆TU/ ∆Q=dTU/dQ

  19. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (ต่อ) เงื่อนไขที่ทำให้ผู้บริโภคเกิดความพึงพอใจสูงสุดจากการบริโภคสินค้า มี 2 กรณี • เมื่อมีสินค้าเพียงชนิดเดียว • เมื่อมีสินค้าหลายชนิด

  20. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (ต่อ) • เมื่อมีสินค้าเพียงชนิดเดียว ผู้บริโภคจะบริโภคสินค้าและบริการนั้นๆจนกระทั่ง “อรรถประโยชน์รวม:TU” สูงสุด เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเมื่อไหร่จะเกิด“Max TU” ?

  21. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (ต่อ) อรรถประโยชน์รวมจะสูงสุด (Max TU) เมื่อ MU= 0 MU= 0 Max TU TU , MU max TU TU MU=0 0 Q Qmax

  22. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (ต่อ) TU , MU max TU TU  MU=0 0 Q x 5 4 MU

  23. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (ต่อ) 2. เมื่อมีสินค้าหลายชนิด กรณีนี้จะหาจำนวนสินค้าที่บริโภคแล้วทำให้เกิดความพอใจสูงสุด (Max. TU ) โดย ใช้ “ดุลยภาพของผู้บริโภค (Consumer Equilibrium)” ซึ่งมีเงื่อนไขว่า ผู้บริโภค ต้องรู้ราคาตลาดของสินค้าแล้ว แบ่งได้เป็น 2 กรณีย่อย 1. ผู้บริโภคมีรายได้ไม่จำกัดและสินค้าทุกชนิดมีราคาเท่ากัน • ความพอใจสูงสุด (max TU)เกิดเมื่อ MUa = MUb =....= 0 2. ผู้บริโภคมีรายได้จำกัดและสินค้าทุกชนิดราคาไม่เท่ากัน • ความพอใจสูงสุด (max TU)เกิดเมื่อ MUa/Pa = MUb/Pb =....=MUn/Pn = k

  24. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (ต่อ) Ex. สมมติว่ามีสินค้าอยู่ 2 ชนิด คือ ขนมเค้ก กับ ไอติม ถ้าผู้บริโภคมีรายได้สูงมากและสินค้าทั้งสองชนิดราคาเท่ากัน ผู้บริโภคจะเลือกบริโภคอย่างไรจึงจะมีความพอใจสูงสุด?

  25. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (ต่อ) Ex. สมมติว่ามีสินค้าอยู่ 2 ชนิด คือ ขนมเค้ก (ชิ้นละ 20 บาท) กับ ไอติม (ถ้วยละ 10 บาท) ผู้บริโภคจะเลือกบริโภคอย่างไรจึงจะมีความพอใจสูงสุด ถ้าผู้บริโภคมีเงิน 50 บาท? ดุลยภาพผู้บริโภคเกิดที่ เค้ก 1 ชิ้น และไอติม 2 ถ้วย -ใช้เงิน 40 บาท -Max.TU = 230

  26. ทฤษฎีอรรถประโยชน์ (ต่อ) • ในการซื้อสินค้าและบริการ ผู้บริโภคไม่ได้สนใจถึง MU ของสินค้าแต่ละชนิด ทำให้ไม่เกิดดุลยภาพตามทฤษฎี • ผู้บริโภคมักซื้อสินค้าตามความเคยชิน ไม่ได้คำนึงถึง MU • ความพอใจของผู้บริโภคไม่สามารถวัดออกเป็นหน่วยได้

  27. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากันทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน ผู้บริโภคสามารถบอกได้เพียงว่าพอใจมากกว่าหรือน้อยกว่า แต่จะไม่สามารถบอกได้ว่า มากกว่าหรือน้อยกว่าเป็นจำนวนเท่าใด

  28. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) • เส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve: IC) คือ เส้นที่แสดงสัดส่วนของสินค้าสองชนิดที่แตกต่างกันแต่ให้ความพอใจแก่ผู้บริโภคเท่ากัน เค้ก สัดส่วนของเค้กกับไอติมที่ให้ความพอใจเท่ากัน A 8 B 4 C 3 D IC 2 ไอติม 0 3 1 2 6

  29. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) การทดแทนกันได้ของสินค้า เค้ก เค้ก A A 8 8 B B 6 6 C C 4 IC 4 IC ไอติม 0 ไอติม 0 9 1 5 1 3 11 รูปที่2 เค้กกับไอติมทดแทนกันได้สมบูรณ์ รูปที่1 เค้กกับไอติมทดแทนกันได้ไม่สมบูรณ์

  30. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) การทดแทนกันได้ไม่สมบูรณ์ สินค้าใดที่เรามีมาก คุณค่าของมันจะต่ำ สินค้าใดที่เรามีน้อย คุณค่าของมันจะสูง

  31. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) • การทดแทนกันได้ไม่สมบูรณ์ ส้ม A 100 B 50 C 30 D IC 20 แอ้ปเปิ้ล 0 4 2 3 5

  32. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) Indifference Curve (IC) ของผู้บริโภคคนหนึ่งๆมีมากมายหลายเส้น โดยเส้นที่ อยู่เหนือกว่าย่อมให้ความพอใจมากกว่า เค้ก IC1<IC2<IC3<IC4 IC4 IC3 IC2 IC1 ไอติม

  33. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) คุณสมบัติของเส้นความพอใจเท่ากัน • เป็นเส้นโค้งทอดลงจากซ้ายมาขวา (ความชันเป็นลบ) (เช่น จาก A ไป B) • เป็นเส้นโค้งเว้าเข้าหาจุดกำเนิด(origin) • เส้นความพอใจเท่ากันตัดกันไม่ได้ • เป็นเส้นที่ต่อเนื่องไม่ขาดตอน เค้ก M A 10 D B 6 IC3 C 4 IC2 IC1 ไอติม 0 1 2 4

  34. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) อัตราส่วนของการทดแทนกันของสินค้า 2 ชนิด (Marginal Rate of Substitution: MRS) • MRSxy : จำนวนการลดลงของสินค้า y เมื่อผู้บริโภคได้รับสินค้า x เพิ่มขึ้นหนึ่งหน่วย โดยรักษาระดับความพอใจให้คงเดิม

  35. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) • MRSyx = ∆x = dx • ∆y dy • MRSxy = ∆y =dyslope ของ เส้น IC • ∆ x dx เค้ก จาก A  B C ค่า MRSxy จะลดลงตามลำดับตามกฎการลดน้อยถอยลงของ MRS MRSxy (A  B) = -2 A 10 MRSxy (B  C) = -1 Slope (-) B 6 C 4 IC 0 ไอติม 2 4 6

  36. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) เส้นงบประมาณ (Budget Line: BL) • เส้นที่แสดงให้เห็นถึงจำนวนต่างๆของสินค้า 2 ชนิด ซึ่งสามารถซื้อได้ด้วยเงินจำนวนหนึ่งที่กำหนดให้ ณ ราคาตลาดขณะนั้น สินค้า y M: รายได้ของผู้บริโภค Py: ราคาสินค้า Y Px: ราคาสินค้า x M/Py เส้นงบประมาณ slope = Px/Py สินค้า x 0 M/Px

  37. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) เส้นงบประมาณ (Budget Line: BL) Ex. ได้ค่าขนม 100 บาท/วัน มีขนม 2 ชนิด คือ เค้ก ชิ้นละ 20 บาท และไอติม ถ้วยละ 10 บาท จำนวนขนมที่สามารถซื้อได้ ไอติม 10 8 เส้นงบประมาณ slope = Px/Py 6 4 2 เค้ก 0 1 2 3 4 5

  38. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) ผู้บริโภคใช้เงินทั้งหมดที่มีในการซื้อสินค้าและบริการเพื่อให้เกิดความพอใจสูงสุด โดยปริมาณสินค้าต่างๆที่ซื้อนี้เรียกว่า “ดุลยภาพผู้บริโภค (Consumer Equilibrium)” ทำยังไงถึงจะเกิดดุลยภาพผู้บริโภค?

  39. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) ดุลยภาพผู้บริโภค (Consumer Equilibrium) เกิดเมื่อ 1. ใช้เงินทั้งหมดที่มี คือ การใช้จ่ายเงินเพื่อบริโภคสินค้าและบริการต้องอยู่บนเส้นงบประมาณ สินค้า Y A G M/ PY B N สินค้า X C M/ PX

  40. สินค้า Y IC3 IC2 IC1 สินค้า X ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) ดุลยภาพผู้บริโภค (Consumer Equilibrium) เกิดเมื่อ 2. ความพอใจสูงสุด คือ เส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve: IC) อยู่นอกสุด

  41. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) จุดใดคือจุดดุลยภาพผู้บริโภค สินค้า Y D 1.จุดใดที่ผู้บริโภคมีความพอใจสูงสุด? 2.จุดใดที่สามารถซื้อได้ด้วยเงินที่ผู้บริโภคมีอยู่? G C E IC4 IC3 IC2 A IC1 สินค้า X B

  42. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) ดุลยภาพผู้บริโภค (Consumer Equilibrium) จะเกิดเมื่อ เส้นความพอใจเท่ากัน (Indifference Curve: IC) สัมผัสกับ เส้นงบประมาณ (Budget Line: BL) สินค้า Y M/ PY จุดไหนคือจุดดุลยภาพ? G A N Y1 B IC3 IC2 IC1 C BL สินค้า X X1 M/ PX

  43. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) อะไรคือเงื่อนไขที่ทำให้เกิดจุดดุลยภาพผู้บริโภค? สินค้าy ดุลยภาพผู้บริโภค M/Py E IC BL สินค้าx 0 M/Px

  44. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) เงื่อนไขที่ทำให้เกิดจุดดุลยภาพผู้บริโภค คือ Slope IC = Slope BL [MRSxy=∆y/∆x= dy/dx] = [-Px/Py] สินค้า y ดุลยภาพผู้บริโภค slope IC = slope BL M/Py E IC สินค้า x M/Px 0

  45. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) สรุป [MRSxy=∆y/∆x= dy/dx]=[Px/Py] คือเงื่อนไขที่ทำให้ผู้บริโภคเกิดความพอใจสูงสุดจากเงินที่มีอยู่

  46. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) การเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของผู้บริโภค 1. กรณีที่ราคาสินค้าเปลี่ยน • ราคาสินค้า X เปลี่ยนแปลง โดยที่ราคาสินค้า Y คงที่ • ราคาสินค้า Y เปลี่ยนแปลง โดยที่ราคาสินค้า X คงที่ • ราคาสินค้าทั้ง 2 ชนิดที่พิจารณาเปลี่ยนแปลงทั้งคู่ 2. กรณีที่รายได้ของผู้บริโภคเปลี่ยน

  47. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) 1. กรณีที่ราคาสินค้าเปลี่ยน (ราคาสินค้า x เปลี่ยน) สินค้าy Price Consumption Curve: PCC E1 E IC 1 IC สินค้าx 0

  48. ทฤษฎีเส้นความพอใจเท่ากัน (ต่อ) 2.กรณีที่รายได้ของผู้บริโภคเปลี่ยน (รายได้เพิ่มขึ้น) สินค้าy M1/Py M/Py Income Consumption Curve: ICC E1 E IC 1 IC สินค้าx 0 M1/Px M/Px

  49. Ex. จงหาดุลยภาพผู้บริโภคจากข้อมูลต่อไปนี้ ถ้าเส้นความพอใจเท่ากันสามารถแสดงได้ด้วยความสัมพันธ์ต่อไปนี้ U=(XY)^0.5 และผู้บริโภคมีรายได้เท่ากับ 10,000 บาท/เดือน ราคาสินค้า x คือ Px=1000 บาท/ชิ้น และ ราคาสินค้า y คือ Py=500 บาท/ชิ้น

More Related