1 / 18

บทที่ 6

บทที่ 6. การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับ การจัดการอุปกรณ์. ตรวจสอบสถานการณ์ทำงานของอุปกรณ์ และเก็บข้อมูลที่สำคัญต่าง ๆ ของอุปกรณ์นั้น เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดการอุปกรณ์. กำหนดว่าอุปกรณ์ชิ้นใดใครเป็นผู้ใช้ และใช้นานเท่าใด โดยที่ระบบปฏิบัติการจะให้ใครใช้อุปกรณ์.

vienna
Télécharger la présentation

บทที่ 6

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 6 การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล

  2. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดการอุปกรณ์หน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดการอุปกรณ์ ตรวจสอบสถานการณ์ทำงานของอุปกรณ์ และเก็บข้อมูลที่สำคัญต่าง ๆ ของอุปกรณ์นั้น เพื่อเป็นข้อมูลในการจัดการอุปกรณ์ กำหนดว่าอุปกรณ์ชิ้นใดใครเป็นผู้ใช้ และใช้นานเท่าใด โดยที่ระบบปฏิบัติการจะให้ใครใช้อุปกรณ์ การจัดสรร (Allocate) การเรียกคืน (Deallocate)

  3. หน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดการอุปกรณ์หน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดการอุปกรณ์ • การยกให้ (Dedicate Device) • การแบ่งปัน (Shared Device) • การจำลองอุปกรณ์ (Virtual Device) เทคนิคการจัดการอุปกรณ์มี 3 ประเภท

  4. ประเภทของอุปกรณ์ • อุปกรณ์ที่ทำงานกับข้อมูลคราวละบล็อก (Block Device) • อุปกรณ์ที่ทำงานกับข้อมูลคราวละอักขระ (Character Device) โดยทั่วไปจำแนกอุปกรณ์ได้ 2 ประเภท

  5. ตัวขับอุปกรณ์ (Device Driver) เมื่อระบบปฏิบัติการต้องการติดต่อกับอุปกรณ์ใด ระบบปฏิบัติการก็จะติดต่อผ่านตัวขับอุปกรณ์นั้น แล้วตัวขับอุปกรณ์จะติดต่อกับอุปกรณ์จริง ๆ อีกทีหนึ่ง

  6. ตัวควบคุมอุปกรณ์ (Device Controller) ตัวควบคุมอุปกรณ์จะอยู่ในรูปแบบของแผงวงจร และติดตั้งในเครื่องคอมพิวเตอร์ แล้วเชื่อมโยงเคเบิ้ลไปยังตัวอุปกรณ์ ซึ่งตัวควบคุมอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมอุปกรณ์หนึ่ง จะใช้ควบคุมอุปกรณ์ได้เพียงอย่างเดียว

  7. การเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง(Direct Memory Access / DMA) การรับส่งข้อมูลจากอุปกรณ์ I/O เข้าไปยังหน่วยความจำโดยตรง โดยไม่ต้องส่งผ่านซีพียู ซึ่งจะทำให้การรับส่งข้อมูลทำได้เร็วขึ้น และยังจะสามารถใช้ซีพียูในการทำงานโปรเซสอื่น ๆ ได้

  8. การเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง(Direct Memory Access / DMA) เมื่อระบบมีความต้องการรับส่งข้อมูลแบบเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง Channel จะส่งสัญญาณไปบอกซีพียูให้รับรู้ว่ามีเหตุการณ์ที่ต้องการจะรับส่งข้อมูล จากนั้นซีพียูสั่งให้ Channel ทำงานในรูทีนที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมการรับส่งข้อมูล

  9. การติดตาย (Deadlock) คือ ปัญหาที่งาน 2 งานขึ้นไปเริ่มหยุดชะงัก (Hold) ไม่ทำงานต่อ เนื่องจากงานแต่ละงานรอคอย การใช้ทรัพยากรบางอย่าง แต่ทรัพยากรนั้นอยู่ในสถานะไม่ว่าง ในที่สุดการทำงานของทั้งระบบ ก็จะหยุดชะงักลง

  10. ภาพแสดงการติดตาย

  11. ภาพแสดงการติดตายของบันไดภาพแสดงการติดตายของบันได

  12. ภาพแสดงการติดตายของการจราจรภาพแสดงการติดตายของการจราจร

  13. ภาพแสดงการจราจรที่ไม่เกิดปัญหาการติดตายภาพแสดงการจราจรที่ไม่เกิดปัญหาการติดตาย

  14. ทรัพยากรการติดตาย ปัญหาการติดตายจะเกิดขึ้นเมื่อโปรเซสไม่ได้รับการอนุญาตให้เข้าถึงทรัพยากร ดังนั้นการจัดการและการใช้งานทรัพยากร จึงเป็นปัจจัยสำคัญในการศึกษาสาเหตุและวิธีการป้องกันปัญหาการติดตาย โดยทรัพยากรนี้อาจจะเป็นฮาร์ดแวร์หรือซอฟต์แวร์ก็ได้ ปกติแล้วคอมพิวเตอร์จะมีทรัพยากรในระบบมากมายหลายรูปแบบ ระบบสามารถใช้งานได้โดยโปรเซสเพียงโปรเซสเดียว ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง

  15. ประเภทของทรัพยากร ทรัพยากรสามารถแบ่งออกได้ 2 กลุ่ม • ทรัพยากรที่สามารถปลดปล่อยได้โดยไม่ทำ ความเสียหายต่องานที่กำลังทำอยู่ (Preemptable resource) • ทรัพยากรที่ไม่สามารถปลดปล่อยได้จนกว่า การทำงาน จะเสร็จสิ้น (Nonpreemptableresource)

  16. การติดตายจะเกิดกับทรัพยากรที่ไม่สามารถปลดปล่อยได้เท่านั้น • การร้องขอเพื่อใช้ทรัพยากร • การใช้งานทรัพยากร • การปลดปล่อยทรัพยากร

  17. สาเหตุของการติดตาย เกิดจากสาเหตุ 4 ประการ • การบังคับไม่ให้โปรเซสเข้าใช้ทรัพยากร • การครองทรัพยากรค้างไว้ในขณะที่ร้องขอใช้ ทรัพยากรอีกอย่างหนึ่ง • การที่ไม่สามารถปลดปล่อยทรัพยากรที่ครองอยู่ได้ • การคอยทรัพยากรซึ่งกันและกันในลักษณะงูกินหาง

  18. จบบทที่ 6

More Related