650 likes | 1k Vues
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีการศึกษา 2548. วันพฤหัสบดีที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2549. การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา.
E N D
การเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประจำปีการศึกษา 2548 วันพฤหัสบดีที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2549
การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษาการจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพได้กำหนดน้ำหนักแต่ละมาตรฐานการประเมินภายนอกและได้รับความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย ในคราวประชุมสมัยสามัญ ครั้งที่ 4/2548 เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2548 มติที่ 88/2548
การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ)การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ) สมศ. จึงได้จัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามค่าน้ำหนักคะแนนที่แต่ละสถาบันเน้นซึ่งจัดกลุ่มได้ 4 กลุ่มคือ (หนังสือที่ มศ 0002/(ว)272 ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2549)
การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ)การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ) ข้อมูลเฉพาะ 81 สถาบันอุดมศึกษาที่แจ้งน้ำหนักไปยัง สมศ. ส่วนสถาบันอุดมศึกษาที่เหลือ สมศ. กำลังดำเนินการรวบรวมข้อมูลเพื่อจัดกลุ่มต่อไป
การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ)การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ)
การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ)การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ) กลุ่ม 1 มหาวิทยาลัยเน้นการวิจัยและบัณฑิตศึกษา มี 20 แห่ง เช่น • มหาวิทยาลัยรัฐ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ • มหาวิทยาลัยเอกชน เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร • มหาวิทยาลัยราชภัฎ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฎยะลา
การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ)การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ) กลุ่ม 2 มหาวิทยาลัยเน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาสังคม มี 35 แห่ง เช่น • มหาวิทยาลัยรัฐ ได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ • มหาวิทยาลัยเอกชน ได้แก่ มหาวิทยาลัยสยาม, มหาวิทยาลัยพายัพ, มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์,มหาวิทยาลัยศรีปทุม, มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ • มหาวิทยาลัยราชภัฎ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ)การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ) กลุ่ม 3 มหาวิทยาลัยเน้นการผลิตบัณฑิต มี 17 แห่ง เช่น • มหาวิทยาลัยรัฐ ได้แก่ มหาวิทยาลัยทักษิณ • มหาวิทยาลัยเอกชน เช่น มหาวิทยาลัยกรุงเทพ • มหาวิทยาลัยราชภัฎ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ)การจัดกลุ่มสถาบันอุดมศึกษาตามจุดเน้นการปฏิบัติพันธกิจของสถาบันอุดมศึกษา(ต่อ) กลุ่ม 4 มหาวิทยาลัยเน้นการผลิตบัณฑิตและพัฒนาศิลปะและวัฒนธรรม มี 9 แห่ง เช่น • มหาวิทยาลัยรัฐ ได้แก่ มหาวิทยาลัยบูรพา, มหาวิทยาลัยศิลปากร • มหาวิทยาลัยเอกชน ได้แก่ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ • มหาวิทยาลัยราชภัฎ เช่น มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา
การประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษาการประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษา *** ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 กำหนดให้สถานศึกษาทุกแห่ง ต้องได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. อย่างน้อย 1 ครั้ง ในทุก 5 ปี ซึ่งในการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสอง เพื่อรับรองมาตรฐานการศึกษานั้น สถานศึกษาที่ได้รับการประเมินในรอบแรกอย่างน้อย 2 ปี และได้รับการรับรองผลการประเมินแล้วอย่างน้อย 12 เดือน ก่อนได้รับการประเมินในรอบสอง จะได้รับการประเมินในปีงบประมาณ 2549 ซึ่งมหาวิทยาลัยพายัพเข้าเกณฑ์ที่จะได้รับการประเมินดังกล่าว***
การประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษา(ต่อ)การประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษา(ต่อ) เกณฑ์การประเมินเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษาในระดับสถาบันและกลุ่มสาขาวิชา การประเมินรายมาตรฐาน • อิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำของแต่ละตัวบ่งชี้ ซึ่งผันแปรตามกลุ่มสถาบันอุดมศึกษา • อิงเกณฑ์พัฒนาการ โดยพิจารณาจากผลประเมินภายนอกครั้งที่ 1 และ 2ถ้ามีพัฒนาการให้ 1 ไม่มีพัฒนาการให้ 0
การประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษา(ต่อ)การประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษา(ต่อ) เกณฑ์การตัดสินระดับสถาบัน รับรอง เมื่อ • ได้คะแนนเฉลี่ยแบบถ่วงน้ำหนัก ตั้งแต่ 3.51 ขึ้นไป (คะแนนเต็ม 5) • อย่างน้อย 3 ใน 4 มาตรฐาน อยู่ในระดับไม่ต่ำกว่าดี • ไม่มีมาตรฐานใดอยู่ในระดับต้องปรับปรุง เกณฑ์การตัดสินระดับกลุ่มสาขาวิชา รับรอง เมื่อ • มีอย่างน้อย 3 ใน 4 กลุ่มสาขาวิชาได้รับการรับรองมาตรฐานคุณภาพ • ไม่มีกลุ่มสาขาวิชาใดอยู่ในระดับปรับปรุง
การประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษา(ต่อ)การประเมินคุณภาพภายนอกเพื่อการรับรองมาตรฐานการศึกษา(ต่อ) การจัดกลุ่มสาขาวิชา • วิทยาศาสตร์สุขภาพ • วิทยาศาสตร์กายภาพ • วิศวกรรมศาสตร์ • สถาปัตยกรรมศาสตร์ • เกษตรศาสตร์ • บริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร์ บัญชี การจัดการ การท่องเที่ยว เศรษฐศาสตร์ • ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ • ศิลปกรรมศาสตร์ วิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ • สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ • สหวิทยาการ
PDCA 5 ส IPOO QA Cycle ระบบประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยพายัพ SMA3R2 TU-PYU
SAR คืออะไร(ต่อ) รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report: SAR) เป็นเอกสารที่หน่วยงานจัดทำขึ้นเพื่อรายงานผลการดำเนินงานภายในหน่วยงานให้บุคคลภายนอก/บุคคลทั่วไปรับทราบถึงประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการดำเนินงาน ซึ่งรวมถึงการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง แนวทางแก้ไข แนวทางเสริม เพื่อแก้ไขพัฒนาปรับปรุงคุณภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงาน
SAR คืออะไร(ต่อ) รายงานการประเมินตนเอง จึงเป็นเอกสารที่หน่วยงานใช้เพื่อตรวจประเมินคุณภาพการดำเนินงานของหน่วยงาน เป็นการพิจารณาระบบและกลไกการประกันคุณภาพของหน่วยงานซึ่งพัฒนาต่อเนื่อง จากการตรวจสอบคุณภาพภายใน (Internal Quality Audit) โดยการจัดทำรายงานการศึกษาตนเอง (SSR) เพื่อตรวจสอบคุณภาพภายในหน่วยงานว่าได้มีการจัดระบบและกลไกการประกันคุณภาพ การดำเนินงานการประเมินผลการดำเนินงานหรือไม่ เป็นการกระตุ้นการพัฒนาระบบควบคุมคุณภาพ (Quality Control) เพื่อให้หน่วยงานได้เรียนรู้และพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน (Internal Quality Control) สอดคล้องกับนโยบายและแนวปฏิบัติการประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย เมื่อหน่วยงานได้ดำเนินการศึกษาตนเอง และได้รับการตรวจสอบคุณภาพภายใน (InternalQuality Audit) โดยคณะกรรมการตรวจสอบคุณภาพภายในที่มหาวิทยาลัยแต่งตั้ง จึงควรได้พัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในหน่วยงานต่อเนื่องจากระบบการตรวจสอบคุณภาพภายใน เป็นระบบการประเมินคุณภาพภายใน (InternalQuality Assessment) เพื่อบ่งชี้คุณภาพการดำเนินงาน มีระดับการตัดสินคุณภาพ 5 ระดับ โดยประเมินคุณภาพของการดำเนินงานที่กำหนดตามวงจรคุณภาพ (Quality Cycle of Deming’s Theory : P D C A)
กลยุทธ์การประเมินตนเองกลยุทธ์การประเมินตนเอง กลยุทธ์การประเมินตนเอง เป็นหัวใจสู่ความสำเร็จของแนวคิดเรื่องความเป็นเลิศ กลยุทธ์ดังกล่าวควรมีลักษณะดังต่อไปนี้ • มีความเชื่อมโยงที่ชัดเจนระหว่างสิ่งที่ต้องการประเมินกับภารกิจและวัตถุประสงค์ของ หน่วยงาน ซึ่งไม่ใช่เพียงสิ่งที่ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบเท่านั้น หากหมายถึงสิ่งที่ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถปฏิบัติได้ด้วย • เน้นชัดเรื่องการปรับปรุง ทั้งการปรับปรุงผลการเรียนของผู้เรียน ความสามารถของคณาจารย์/บุคลากร ผลการดำเนินงานตามหลักสูตรของคณะวิชา และผลการดำเนินงานตามแผนงานต่างๆ • มีการประเมิน และการป้อนข้อมูลกลับอยู่เสมอ • มีการประเมินซึ่งมีการอ้างอิงเกณฑ์ที่เหมาะสม • มีแนวทางที่ชัดเจนว่าจะใช้หรือไม่ใช้ผลการประเมินอย่างไร • มีการวัดผลระบบการประเมินเพื่อปรับปรุงความเชื่อมโยงระหว่างการประเมินและผลสำเร็จ มีการพัฒนาปัจจัยความสำเร็จอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาข้อกำหนดภายนอกประกอบ เช่น พ.ร.บ. กฎกระทรวง ตลาด และองค์กรอื่นๆ
สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปจากปีการศึกษา 2547 สิ่งที่เหมือนและแตกต่างไปจากดัชนีและเกณฑ์เดิมสามารถสรุปได้ดังนี้
สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปจากปีการศึกษา 2547 (ต่อ)
สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปจากปีการศึกษา 2547 (ต่อ)
สิ่งที่เปลี่ยนแปลงไปจากปีการศึกษา 2547 (ต่อ)
แนวทางการประเมินตนเองของคณะวิชา/ภาควิชาแนวทางการประเมินตนเองของคณะวิชา/ภาควิชา แบ่งการประเมินเป็น 3 ส่วน • ส่วน 1 ประเมินการดำเนินงานในภาพรวม • ส่วน 2 ประเมินเฉพาะหลักสูตรปริญญาตรี • ส่วน 3 ประเมินเฉพาะหลักสูตรปริญญาโท
สรุปจำนวนมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ ของคณะวิชา/ภาควิชา การประเมินคุณภาพภายในระดับคณะวิชามีทั้งหมด 7 มาตรฐาน ดังนี้
สรุปจำนวนมาตรฐาน ตัวบ่งชี้ ของคณะวิชา/ภาควิชา(ต่อ)
เกณฑ์การประเมิน ตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ พิจารณาการให้ระดับคะแนนตามวงจรคุณภาพ PDCA มีคะแนน 20 คะแนน โดยP (Plan) ร่วมกันจัดทำนโยบายและวางแผน คะแนนเต็ม 5 คะแนนD (Do) ร่วมกันนำไปปฏิบัติ คะแนนเต็ม 5 คะแนนC (Check)ร่วมกันติดตามและตรวจสอบ คะแนนเต็ม 5 คะแนนA (Act) ร่วมกันปรับปรุงแก้ไขการดำเนินงาน คะแนนเต็ม 5 คะแนน
ตัวอย่างเกณฑ์เชิงคุณภาพ Plan เกณฑ์การประเมิน(ต่อ)
เกณฑ์การประเมิน(ต่อ) ตัวอย่างเกณฑ์เชิงคุณภาพ Do
เกณฑ์การประเมิน(ต่อ) ตัวอย่างเกณฑ์เชิงคุณภาพ Check
เกณฑ์การประเมิน(ต่อ) ตัวอย่างเกณฑ์เชิงคุณภาพ Act
เกณฑ์การประเมิน (ต่อ) เกณฑ์เชิงปริมาณ พิจารณาให้คะแนนตามระดับการพัฒนาการ/ผลลัพธ์จากการดำเนินงาน คะแนนเต็ม 5 คะแนน เช่น ตัวบ่งชี้ 6.3 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด เกณฑ์
แนวทางการเขียน SAR ขั้นตอนการเขียน SAR เริ่มต้น ศึกษาแนวคิดของการประเมินตนเอง ทำความเข้าใจดัชนีและเกณฑ์การประเมินคุณภาพของมหาวิทยาลัย คัดเลือกดัชนีและเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับคณะวิชา/หน่ยวงาน สิ้นสุด ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานตามดัชนีและเกณฑ์ประเมิน A
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) A รวบรวมหลักฐานเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน Download Fileจากระบบสารสนเทศออนไลน์ หลักฐานที่แสดงว่ามีการปฏิบัติงานจริงตามดัชนีและเกณฑ์การประเมิน - File ข้อมูลเชิงปริมาณ- File รายงานการประเมินตนเองตามภารกิจ ตรวจสอบผลการปฏิบัติงานและหลักฐานที่แสดงว่ามีการปฏิบัติจิรงตามดัชนีตามแบบตรวจสอบ ป้อนข้อมูลเชิงปริมาณ B
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) B ประชุมคณะกรรมการประกันคุณภาพของคณะวิชา/หน่วยงานเพื่อพิจารณาผลการปฏิบัติงานและให้คะแนนการประเมินตนเอง พร้อมกับวางแผนแก้ไขจุดอ่อนและหาแนวทางเสริมจุดแข็งร่วมกัน หัวหน้าหน่วยงาน/ผู้บริหาร/ผู้รับผิดชอบนำผลการประชุมมาเขียนรายงานการประเมินตนเอง (SAR) C
แนวทางการเขียน SAR C เขียน SAR นำผลการประเมินตนเองมาใช้เพื่อกระตุ้นและปรับวิธีการทำงานของบุคลากรและหน่วยงาน Upload Fileขึ้นระบบสารสนเทศออนไลน์-File ข้อมูลเชิงปริมาณ-FileSAR รายงานการประเมินตนเอง SAR สิ้นสุด
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) รายงานการประเมินตนเอง(SelfAssessment Report) เพื่อรับการประเมินคุณภาพภายในประจำปีการศึกษา 2548 คณะ........................... วัน/เดือน/ปีที่รายงาน ................................. ลักษณะหน้าปก แบบอักษร (Font) : Angsana New ขนาด (Size) :24 point ขนาดกระดาษ (Paper Size) : A4 การจัดวางกระดาษ (Orientation) : แนวตั้ง (Portrait)
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) คำนำ • วัตถุประสงค์ของรายงานการประเมินตนเอง, ความสำคัญของการเขียนรายงานประเมินตนเอง • ช่วงเวลาของผลงาน/ ช่วงเวลาที่จัดเก็บข้อมูล • ระบุมาตรฐานที่เน้น/ มาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ลงนาม............................. (...................................) เนื้อหา แบบอักษร (Font) : Angsana New ขนาด (Size) :14 point ขนาดกระดาษ (Paper Size) : A4 การจัดวางกระดาษ (Orientation) : แนวตั้ง (Portrait) และสามารขยาย/ ปรับตารางได้ ตามความเหมาะสม
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) สารบัญ หน้า คำนำ ส่วนที่ 1 การประเมินตนเอง ส่วนนำ เกี่ยวกับคณะวิชา/หน่วยงาน .... ส่วนสำคัญ มาตรฐานที่ 1...... .... มาตรฐานที่ 2..... .... มาตรฐานที่ n…. … ส่วนสรุป สรุปผลการประเมินตนเอง ระดับคณะวิชา/ภาควิชา (ข้อมูลการบริหารจัดการ) ....
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) ส่วนนำ เกี่ยวกับคณะวิชา/ภาควิชา 1. เกี่ยวกับคณะวิชา/ภาควิชา ประวัติความเป็นมา........................................................................................ ปณิธาน ของคณะวิชา/ภาควิชา“..................................”........................................................................................ วัตถุประสงค์ของคณะวิชา/ภาควิชา1).........................................2)........................................
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) ที่ตั้งหน่วยงาน........................................................................................................ จำนวน อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ อาคารสถานที่ ข้อมูล ณ วันที่ .............................
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) จำนวนอาจารย์ตามการแต่งตั้งของมหาวิทยาลัย ข้อมูล ณ วันที่ .............................
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) จำนวนอาจารย์ตามการปฏิบัติงานจริง ข้อมูล ณ วันที่ .............................
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) จำนวนเจ้าหน้าที่ ข้อมูล ณ วันที่ .............................
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) จำนวนนักศึกษา ข้อมูล ณ วันที่ ............................. งบประมาณที่ได้รับอนุมัติ ...................................................................................................
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) แผนภูมิองค์กร (Organization Chart ) มหาวิทยาลัย ฝ่ายวิชาการ คณะ................. สนง.เลขานุการคณะ ภาควิชา............. ภาควิชา...................
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) แผนภูมิการบริหารงาน (Administrative Chart) อธิการบดี รองฯวิชาการ คณบดี เลขานุการสนง.คณะ คณะกรรมการต่างๆ หัวหน้าภาควิชา........ หัวหน้าภาควิชา..........
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) โครงสร้างการปฏิบัติงานของหน่วยงาน (Activity Chart) อธิการบดี รองฯวิชาการ งาน... งาน... คณบดี งาน... งาน... งาน... งาน... เลขานุการคณะ คณะกรรมการต่างๆ หัวหน้าภาควิชา........ หัวหน้าภาควิชา.......... งาน... งาน... งาน... งาน...
แนวทางการเขียน SAR (ต่อ) 2.ความท้าทาย -องค์กรอยู่ที่ตำแหน่งไหนในการแข่งขัน (ควรกล่าวถึงขนาด และการเติบโตในภาคการศึกษา รวมทั้งจำนวนและประเภทของคู่แข่ง) -ปัจจัยสำคัญที่กำหนดความสำเร็จขององค์กร (อาจเทียบกับความสำเร็จของคู่แข่ง รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อสภาพการแข่งขัน) -ระบบการปรับปรุงผลการดำเนินงาน (แนวทางที่องค์กรใช้ในการประเมินผลที่เป็นระบบ วิธีการปรับปรุงกระบวนการหลัก วิธีการสนับสนุนการเรียนรู้และการแลกเปลี่ยนความรู้ภายในองค์กร)