1 / 36

วันที่ 23-25 กุมภาพันธ์ 2554 ณ โรงแรมสตาร์ จังหวัดระยอง นายสุภัทร พันธ์พัฒ นกุล

การชี้แจงการดำเนินงานตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการ (KRS) และตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554. วันที่ 23-25 กุมภาพันธ์ 2554 ณ โรงแรมสตาร์ จังหวัดระยอง นายสุภัทร พันธ์พัฒ นกุล หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. AGENDA.

wenda
Télécharger la présentation

วันที่ 23-25 กุมภาพันธ์ 2554 ณ โรงแรมสตาร์ จังหวัดระยอง นายสุภัทร พันธ์พัฒ นกุล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การชี้แจงการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (KRS) และตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 วันที่ 23-25 กุมภาพันธ์ 2554 ณ โรงแรมสตาร์ จังหวัดระยอง นายสุภัทร พันธ์พัฒนกุล หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  2. AGENDA • ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (KRS และ ARS) • กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ และ ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • ระยะเวลาการส่งงาน • ระบบ KRS ARS AMSS และ SMSS • แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

  3. ผลการดำเนินงานที่ผ่านมาผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ผลการดำเนินงานตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (KRS) *ผลการประเมินตนเอง (Self Assessment)

  4. กราฟแสดงการเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน KRS

  5. ผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ได้คะแนนรวม 4.09683

  6. AGENDA • ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (KRS และ ARS) • กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ และ ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • ระยะเวลาการส่งงาน • ระบบ KRS ARS AMSS และ SMSS • แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

  7. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 กรอบการประเมินผล การปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2554 ตัวชี้วัดตามคำรับรอง การปฏิบัติราชการ (KRS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ตัวชี้วัดตาม แผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554

  8. ด้านคุณภาพการให้บริการด้านคุณภาพการให้บริการ ด้านประสิทธิภาพ ฯ มิติที่ 2 ร้อยละ 15 มิติที่ 3 ร้อยละ 15 ด้านประสิทธิผล มิติที่ 4 ร้อยละ 20 มิติที่ 1 ร้อยละ 50 ด้านการพัฒนาองค์การ กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (KRS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (ต่อ)

  9. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 1 : มิติด้านประสิทธิผล (น้ำหนักร้อยละ 50) 30 1. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติ ราชการของกระทรวงและนโยบายสำคัญ/พิเศษของรัฐบาล 2. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ 3. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายตามแผนปฏิบัติราชการของกลุ่มภารกิจ - 20

  10. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 2 : มิติด้านคุณภาพการให้บริการ (น้ำหนักร้อยละ 15) 6 4. ร้อยละระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ 5. ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้กำหนดนโยบาย 6.ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและปราบปรามการทุจริต 3 6

  11. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 3 3 7. ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ 8. ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย/ภาพรวม/ ตามแผน 9. ระดับความสำเร็จของการจัดทำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต 5 2

  12. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 3 3 10.ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายใน 11. ระดับความสำเร็จของการดำเนินการตามแผนพัฒนากฎหมายของส่วนราชการ 2

  13. กรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ มิติที่ 4 มิติด้านการพัฒนาองค์กร (น้ำหนักร้อยละ 20) 20 12. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

  14. กลยุทธ์ 1 กลยุทธ์ 2 กลยุทธ์ 3 กรอบตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตร และส่งเสริมความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ (น้ำหนัก 16) ปลูกฝังคุณธรรม ความสำนึกในความเป็นชาติไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (น้ำหนัก 15) ขยายโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (น้ำหนัก 22)

  15. กลยุทธ์ 4 กลยุทธ์ 6 กลยุทธ์ 5 กรอบตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ (ARS) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 (ต่อ) พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ (น้ำหนัก 15) พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอำนาจ หลักธรรมาภิบาล และเน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา (น้ำหนัก 15) พัฒนาการศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้และพื้นที่ยากลำบาก (น้ำหนัก 16)

  16. AGENDA • ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (KRS และ ARS) • กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ และ ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • ระยะเวลาการส่งงาน • ระบบ KRS ARS AMSS และ SMSS • แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

  17. ระยะเวลาการส่งงาน

  18. ระยะเวลาการส่งงาน

  19. ระยะเวลาการส่งงาน

  20. ระยะเวลาการส่งงาน

  21. AGENDA • ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (KRS และ ARS) • กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ และ ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • ระยะเวลาการส่งงาน • ระบบ KRS ARS AMSS และ SMSS • แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

  22. ระบบ KRS ARS AMSS SMSS KRS พัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการศึกษา ทุกระดับอย่างมี ประสิทธิภาพ ARS AMSS SMSS

  23. ระบบ KRS (KPI Report System)คือ ระบบประมวลผลและจัดเก็บข้อมูลของตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ สำหรับให้สำนักส่วนกลางและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษารายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการอย่างเป็นระบบ ระบบจะประมวลผลเพื่อให้ได้คะแนนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาโดยอัตโนมัติและแสดงข้อมูลแบบ Real Time ระบบ KRS

  24. ระบบ ARS (Action Plan Report System)คือ ระบบประมวลผลและจัดเก็บข้อมูลตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ สำหรับให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษารายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการอย่างเป็นระบบ ระบบจะประมวลผลเพื่อให้ได้คะแนนของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาต่อไป ระบบ ARS

  25. ระบบ AMSS (Area Management Support System)คือ ระบบสนับสนุนช่วยเหลือการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สำหรับให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดเก็บข้อมูลโดยตรงกับสถานศึกษาเพื่อให้เป็นประโยชน์สำหรับการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง ใช้ในการกำกับ ติดตาม และรายงานผลการดำเนินงานของเขตพื้นที่การศึกษา และของสถานศึกษาในสังกัด ระบบ AMSS

  26. ระบบ SMSS (School Management Support System)คือ ระบบสนับสนุนช่วยเหลือการปฏิบัติงานของสถานศึกษา สำหรับให้สถานศึกษาจัดเก็บข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน และสำหรับให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานำไปใช้ประโยชน์สำหรับการรายงาน/ประมวลผลการปฏิบัติงาน ระบบ SMSS

  27. ข้อเสนอแนะ • ศึกษารายละเอียดจากคู่มือ KRS ARS และ PMQA • การถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับเพื่อนร่วมงาน • รายงานให้ผู้บริหารรับทราบอยู่เสมอ • การแต่งตั้งคณะทำงานรับผิดชอบ • การใช้ประโยชน์จากระบบ KRS ARS และ AMSS • ติดตามข้อมูล ข่าวสารจากเว็บไซต์ กพร.สพฐ.

  28. คณะทำงานพัฒนาระบบฯ นายนิพนท์นนธิ รอง ผอ. สพป.อุบลราชธานี เขต 4 นายนิคม ภูมิภาค สพป.อุบลราชธานี เขต 4 นายบุญเริ่ม บุญถาวร สพป.อุบลราชธานี เขต 4 นายทองคำ มากมี สพม. เขต 29 (อุบลราชธานี) นายคมกฤช มุมไธสง สพป.นครราชสีมา เขต 6 นายศาสตรา ดอนโอฬาร สพป.กาฬสิทธุ์ เขต 3 นายธิติ ทรงสมบูรณ์ สพป.กาฬสิทธุ์ เขต 3 นางสาวจตุพร ธนกิจยิ่งยง สพท.อุบลราชธานี เขต 5 นายศุภศิษฎ์พิทยศักดิ์ สพป.ชัยภูมิ เขต 3 นายคำโพธิ์ ศรีสุพรรณ สพม. เขต 30 นางสาวเปรมฤทัย เลิศบำรุงชัย สำนักเทคโนโลยีการเรียนการสอน

  29. AGENDA • ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา (KRS และ ARS) • กรอบการประเมินผลตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ และ ตัวชี้วัดตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 • ระยะเวลาการส่งงาน • ระบบ KRS ARS AMSS และ SMSS • แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

  30. ระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ (Government Evaluation System : GES) สงป. บก. สลค. สศช. ปปท. สปน. สขร. ก.พ. กพร.

  31. ระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ วัตถุประสงค์ : เป็นการยกระดับธรรมภิบาลของแต่ละส่วนราชการ ตามแนวทางมาตรฐานสากล • หลักการและแนวทาง : Public Accountability • แต่ละส่วนราชการต้องมีความพร้อมต่อการตรวจสอบ โดยจัดให้มีฐานข้อมูลสารสนเทศที่จำเป็น (บูรณาการตัวชี้วัด) และเผยแพร่ต่อสาธารณะผ่าน • ทาง website เพื่อแสดงความโปร่งใส (ไม่ต้องจัดส่งข้อมูลและรายงานต่างๆ ให้แก่หน่วยงานกลาง) • แต่ละส่วนราชการต้องทำการประเมินและรายงานผลด้วยตนเอง (Self-assessment Report) ตามเกณฑ์ที่กำหนด เพื่อแสดงให้เห็นถึงผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติราชการ รวมถึงขีดสมรรถนะและศักยภาพของหน่วยงานในด้านต่างๆ

  32. ระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการระบบการประเมินผลภาคราชการแบบบูรณาการ • หลักการและแนวทาง :Public Trust & Confidence • หน่วยงานกลางจะ access เข้าไปในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ (อาจจัดให้มี Site Visit) เพื่อสอบทานความถูกต้องและประเมินผล เพื่อประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายในด้านต่างๆต่อไป เช่น การจัดสรรทรัพยากร การลงโทษและให้รางวัลตอบแทน เป็นต้น

  33. กรอบการประเมินผลภาคราชการ - แบบบูรณาการ • การประเมินผลกระทบต่อ • ประชาชน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง • สิ่งแวดล้อม • การประเมินประสิทธิผล (ผลลัพธ์/ผลผลิต) • ระดับความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมาย • ระดับกระทรวง / กรม • การประเมินผลประโยชน์ต่อค่าใช้จ่าย • (Benefit-Cost Ratio) หรือ • การประเมินประสิทธิผลต่อค่าใช้จ่าย • (Cost-Effectiveness) • การประเมินคุณภาพ • (ระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ/ • ผู้กำหนดนโยบาย) • ต่อผลประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้บริการ • ต่อกระบวนการให้บริการ ให้ สศช. เลือกเฉพาะบาง Policy Area มิติภายนอก (External Impact) (70%) เลือกเฉพาะบางโครงการ • การประเมินประสิทธิภาพ • ต้นทุนต่อหน่วย (วัดจากต้นทุนและผลผลิต • ที่เกิดขึ้นจริง) • สัดส่วนค่าใช่จ่ายจริงต่อค่าใช่จ่ายตามแผน • (สามารถเรียกได้จากระบบ GFMIS online- • real time,สงป.302 รายไตรมาส) • ปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับแผน • (เอกสาร สงป.301 รายไตรมาส) • สัดส่วนผลผลิตต่อทรัพยากร (สามารถดูจาก • ข้อมูลต้นทุนต่อหน่วย) • การพัฒนาองค์การ • ขีดสมรรถนะของการบริหารจัดการ มิติภายใน (Internal Management) (30%)

  34. ข้อดีของระบบการประเมินผลภาคราชการ-แบบบูรณาการข้อดีของระบบการประเมินผลภาคราชการ-แบบบูรณาการ ข้อ 1 ข้อ 2 ข้อ 3

  35. ROADMAP

  36. THANK YOU!!

More Related