1 / 40

Animal Health Investigation Team (A H I T)

Animal Health Investigation Team (A H I T). โดย นายศรีสุวรรณ ค้าของ ปศุสัตว์อำเภอคลองท่อม. AHIT. P-AHIT. R-AHIT. C-AHIT. ลำดับเหตุการณ์การระบาดของโรคและการสอบสวนโรค (1). การเกิดโรครายแรก. เจ้าหน้าที่รับทราบว่ามีการเกิดโรค. ตอบสนองต่อการเกิดโรค. รายงาน. เก็บตัวอย่าง. จำนวนป่วย.

wolfe
Télécharger la présentation

Animal Health Investigation Team (A H I T)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Animal Health Investigation Team(A H I T) โดย นายศรีสุวรรณ ค้าของ ปศุสัตว์อำเภอคลองท่อม

  2. AHIT P-AHIT R-AHIT C-AHIT

  3. ลำดับเหตุการณ์การระบาดของโรคและการสอบสวนโรค (1) การเกิดโรครายแรก เจ้าหน้าที่รับทราบว่ามีการเกิดโรค ตอบสนองต่อการเกิดโรค รายงาน เก็บตัวอย่าง จำนวนป่วย โอกาสในการควบคุมโรค

  4. ลำดับเหตุการณ์การระบาดของโรคและการสอบสวนโรค (2) โอกาสในการควบคุมโรค จำนวนสัตว์ป่วย วัน

  5. วัตถุประสงค์ เฝ้าระวังโรค สอบสวนโรค ทำงานด้านระบาดวิทยา ควบคุมโรคเบื้องต้น

  6. กรอบดำเนินงาน เตรียมทีม ปฏิบัติงานทางระบาดวิทยา ประสานงาน • จัดตั้ง • พัฒนาวิชาการ • บริหารจัดการทีม • เตรียมสิ่งสนับสนุน • แผนฝึกซ้อม • เฝ้าระวังโรค • สอบสวนโรค • ควบคุมโรค • จัดทำรายงาน • เสนอผลงานทางวิชาการ

  7. ทางห้องปฏิบัติการ การเฝ้าระวังโรค GIS รายงานระบบเครือข่าย

  8. สอบสวนโรค ข้อเท็จจริง ผลกระทบสุขภาพ Descriptive Analytical Experimental สถานการณ์ Animal ลักษณะเฉพาะ การเปลี่ยนแปลงของการเกิดโรค ปัจจัยเสี่ยง Place ความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เป็นสาเหตุ ผลกระทบต่อสุขภาพ และผลผลิต Time

  9. การสอบสวนโรค -รวบรวมข้อมูลสัตว์ป่วย -ค้นหาสัตว์ป่วย -เก็บตัวอย่างส่งตรวจ -ควบคุมโรคขั้นต้น -รายงาน สอบสวนสัตว์ป่วยเฉพาะราย ๑ ตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น ๒ เตรียมการสอบสวนโรค ๓ กำหนดนิยามสัตว์ป่วย ๔ สัตว์ป่วยและเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงพรรณนา ๕ ตั้งสมมุติฐานของการระบาด ๖ ศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์ ๗ ควบคุมโรค ๘ เขียนรายงาน สอบสวนโรคระบาด

  10. ความไว ความจำเพาะ ความจำเพาะ ความไว การกำหนดคำจำกัดความในการค้นหาสัตว์ป่วย สามารถปรับความไวและจำเพาะ • มีความไวสูง ครอบคลุมสัตว์ป่วยเกือบทั้งหมด และรวมส่วนหนึ่งที่ไม่ใช่ • มีความจำเพาะสูง พลาดสัตว์ป่วยบางส่วน มีโอกาสรวมสัตว์ที่ไม่ป่วยน้อย

  11. ประเด็นตั้งสมมุติฐาน เพื่อศึกษาระบาดวิทยา • Transmission • พาหะ • ช่องทาง • Prevent factor • (สาเหตุโน้มนำ) • Source • Common source epid. • Propagate source epid. • Risk factor • (สาเหตุโน้มนำ)

  12. การควบคุมและกำจัดเชื้อโรคการควบคุมและกำจัดเชื้อโรค ลดจำนวนพาหะ ควบคุมสัตว์ติดเชื้อ การควบคุมโรคระบาด การประชาสัมพันธ์ ป้องกันสัตว์ที่ไวต่อโรค

  13. การสุขาภิบาลสัตว์ การควบคุมแหล่งเชื้อ การฆ่าเชื้อ

  14. การทำลายสัตว์ป่วย ควบคุมการเคลื่อนย้ายสัตว์ การควบคุมสัตว์ติดเชื้อ การกักสัตว์ป่วย

  15. ควบคุมสิ่งแวดล้อม จัดระบบความปลอดภัยทางชีวภาพ การควบคุมสัตว์ที่ไวต่อโรค สร้างภูมิคุ้มกันโรค

  16. การควบคุมพาหะ ควบคุมการเข้าออกฟาร์ม การควบคุมสมดุลทางชีวภาพ ลดจำนวนพาหะ

  17. การนำเสนอผลการสอบสวนโรคการนำเสนอผลการสอบสวนโรค รายงานสอบสวนโรค ข้อเสนอควบคุมโรค รายงานเบื้องต้น (Primary report) การกำจัดโรค 2วันนับแต่เริ่มสอบสวน รายงานสรุปผลการสอบสวน (Final report) การป้องกันโรค 15วันหลังสอบสวนเสร็จ รายงานฉบับสมบูรณ์ (Full report) ข้อเสนอในการเฝ้าระวังโรคต่อไปในอนาคต ใช้ประชุมวิชาการ

  18. การศึกษาที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่งการศึกษาที่จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง การศึกษาไปข้างหน้า การศึกษาย้อนหลัง การศึกษาภาคตัดขวาง Crossectional study เหตุ ผล เหตุ ผล อดีต อนาคต การศึกษาตามลำดับเวลา ปัจจุบัน

  19. Animal Case Descriptive

  20. Animal : Time • ดัชนีที่ใช้วัดผู้ป่วยใหม่ • วัดจำนวนผู้ป่วยใหม่ เรียก อุบัติการณ์ของโรค (Incidence) • วัดอัตราผู้ป่วยใหม่ เรียก อัตราอุบัติการณ์ของโรค (Incidence rate) Incidence Rate = จำนวนผู้ป่วยใหม่ที่เกิดขึ้น x K จำนวนประชากรที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค (K: อัตราส่วนต่อจำนวนประชากรที่ต้องการวัด เช่น 1,000 100,000 คน)

  21. Animal : Time ความชุกของโรคและอัตราความชุกของโรค -ความชุกของโรค (Prevalence)หมายถึง จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่มีอยู่ทั้งเก่า และใหม่ในประชากรที่จุดเวลาที่กำหนดหรือช่วงระยะเวลาที่กำหนด -อัตราความชุกของโรค (Prevalence rate)หมายถึง สัดส่วนผู้ป่วยทั้งหมด ที่มีอยู่ทั้งเก่าและใหม่ต่อหน่วยประชากรที่จุดเวลาที่กำหนด หรือช่วงระยะเวลา ที่กำหนด อัตราความชุกของโรค =จำนวนผู้ป่วยทั้งหมดที่มีอยู่ที่จุดเวลาที่กำหนดx K ที่จุดเวลาที่กำหนด จำนวนประชากรทั้งหมดที่จุดเวลานั้น

  22. Attack Rate วิเคราะห์หาอัตราป่วยจำเพาะ หรือแนวโน้มการเป็นโรคมากที่สุดในสัตว์ โดยใช้ตารางหรือกราฟ

  23. เกิดโรคที่ไหน SPOT MAP

  24. Epidemic curve : การนำเอาวันเริ่มป่วย (Data of onset) ของสัตว์ป่วยทั้งหมดมาเขียนแสดงเป็นกราฟ ใช้บอกชนิดของการระบาด Common-source epidemics Propagate-source epidemics แหล่งแพร่เชื้อร่วมกัน แหล่งแพร่เชื้อกระจาย ช่วงระยะเวลาExposure สั้น Animal to Animal Transmission เกิดการป่วยในช่วงเวลาต่างกัน ไม่เกิน 1 ระยะฟักตัวของโรค การป่วยในช่วงเวลาต่างกัน เกิน1 ระยะฟัก

  25. ลักษณะของ Epidemic Curve • แผนภูมิแท่งที่ไม่มีช่องว่างระหว่างแท่งในช่วงติดกัน • หนึ่งหน่วยเท่ากับ สัตว์หนึ่งตัว หนึ่งฟาร์ม หนึ่งพื้นที่ • การเลือกหน่วยของเวลา ตามระยะฟักตัว เช่น หนึ่งในสามของระยะฟักตัว • แสดงเวลาก่อนการเกิดโรคประมาณสองเท่าของระยะฟักตัวของโรค

  26. ตัวอย่างแผนภูมิการระบาด:แหล่งแพร่โรคร่วม (common source) Continuing common source Common source Point source Example: food contamination Example: Insecticide contamination

  27. Example: Brucellosis outbreak among goat farms ตัวอย่างแผนภูมิการระบาด:Propagated source

  28. Case – Control Study • เป็นการศึกษาเปรียบเทียบ ประวัติ การได้รับปัจจัยเสี่ยงระหว่าง 2 กลุ่ม • กลุ่มที่เป็นโรค (CASE) • กับ • กลุ่มตัวอย่างที่ไม่เป็นโรค (CONTROL)

  29. Design of Case – Control Study Time Direction of inquiry Exposed Cases (Diseased) Population Not exposed Exposed Controls (Not diseased) Not exposed

  30. Odds Ratios OddsRatios คือ อะไร = Ratio of two odds โอกาสสัมผัสปัจจัยเสี่ยงของControl โอกาสสัมผัสปัจจัยเสี่ยงของCase = 140/170= 0.82 = 20/180= 0.11 ODDs Ratios = 0.82/0.11= 7.45

  31. ป่วย ไม่ป่วย หาค่า OddsRatio a b มีปัจจัย • Odds ใน Case-control study • Odds ของการมีปัจจัยในผู้ป่วย = a/c • Odds ของการมีปัจจัยในกลุ่มไม่ป่วย = b/d • Odds ratio = (a/c) / (b/d) = ad / bc c d ไม่มีปัจจัย

  32. EpiCal version 2

  33. การแปลผล (ค่า Odds ratio) • ค่า OR>1 ถือว่าปัจจัยนั้นน่าจะเป็นปัจจัยสาเหตุของการระบาดครั้งนั้น • ยิ่งค่า OR สูงเท่าไร ปัจจัยนั้นยิ่งมีโอกาสเป็นสาเหตุของการระบาดสูง • ข้อพึงระวัง การแปลผลค่า OR ต้องแปลควบคู่ไปกับค่าความเชื่อมั่น 95% • ซึ่งต้องมีค่า >1 ด้วย • ถ้าค่าวัด มีค่า 1 อยู่ด้วย แสดงว่าการเกิดโรคหรือภาวะที่สนใจศึกษา นั้น • ไม่สัมพันธ์กับการมีหรือไม่มีปัจจัยเสี่ยง

  34. การศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์จุดเวลาการศึกษาระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์จุดเวลา Crossectional study ช่วงโรคกำลังระบาด

  35. ศึกษาความชุกของโรค • ทำการสุ่มเลือกขนาดตัวอย่างซึ่งมีจำนวนแน่นอน • วัดปัจจัยที่คาดว่าจะมีอิทธิพลต่อการเกิดโรคและวัดการเกิดโรคที่มีอยู่ไปพร้อมกัน • เปรียบเทียบว่า “ความชุกของโรค” ในกลุ่มที่มีปัจจัยที่ศึกษาว่าแตกต่างจากกลุ่มที่ไม่มีปัจจัยนั้นหรือไม่

  36. ข้อดี-ข้อเสีย • ทำได้ง่ายและรวดเร็ว • ใช้เป็นเครื่องมือขั้นต้นในการหาความสัมพันธ์ระหว่าง exposure กับ outcome ที่สนใจ • เกิดปัญหาในแง่ของการอธิบายความเป็นเหตุเป็นผลหากพบว่ามีความสัมพันธ์จากการศึกษาชนิดนี้

  37. Prevalence (ความชุก) คือ จำนวนผู้ป่วยเก่าและใหม่ทั้งหมดของประชากร ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งที่กำหนด Prevalence Ratio(อัตราความชุก) คือสัดส่วนผู้ป่วยทั้งหมดที่มีอยู่ทั้งเก่าและใหม่ต่อหน่วยประชากร ที่จุดเวลาที่กำหนด หรือช่วงระยะเวลาที่กำหนด

  38. มีปัจจัยและป่วย มีปัจจัยและไม่ป่วย ไม่มีปัจจัยและป่วย ไม่มีปัจจัยและไม่ป่วย การสำรวจข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ กลุ่มศึกษา ประชากร ศึกษา กลุ่มเปรียบเทียบ

  39. ป่วย ไม่ป่วย รวม กินน้ำในลำธาร 7 82 89 ไม่กิน 3 87 90 รวม 17 162 179 แหล่งน้ำ กับการเกิดโรค Prevalence (ความชุก)ในกลุ่มที่กินน้ำ = 7 / 89 = 7.9% Prevalence (ความชุก)ในกลุ่มที่ไม่กิน = 3/ 90 = 3.3% Prevalent ratio = 2.4 , Prevalent difference = 4.6%

  40. จบ-ขอบคุณครับ

More Related