1 / 74

M E M O R Y

M E M O R Y. Vudhichai Boonyanaruthee, MD. MEMORY. Learning objectives: to know WHAT DO WE MEMORIZE? HOW DO WE MEMORIZE? HOW DO WE RECALL? HOW MUCH CAN WE MEMORIZE? HOW DOES MEMORY DECAY?. TYPES OF MEMORY . Sensory memory: momentary lingering of sensory information

xanto
Télécharger la présentation

M E M O R Y

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. MEMORY Vudhichai Boonyanaruthee, MD

  2. MEMORY Learning objectives: to know • WHAT DO WE MEMORIZE? • HOW DO WE MEMORIZE? • HOW DO WE RECALL? • HOW MUCH CAN WE MEMORIZE? • HOW DOES MEMORY DECAY?

  3. TYPES OF MEMORY • Sensory memory: momentary lingering of sensory information • Short-term memory(active memory):conscious awareness of stimuli (new or retrieve from long-term memory); 20sec. If no actively renewed • Long-term memory

  4. SENSORY MEMORY momentary lingering of sensory information

  5. A typical test for visual sensory memory (4-5/12) 7 I V F X L 5 3 B 4 W 7

  6. SHORT-TERM MEMORY ( STM ) STIMULI SENSORY MEMORY SELECTIVE PERCEPTUAL AND ATTENTION COGNITIVE PROCESS & ENCODING SHORT-TERM MEMORY

  7. FORMING SHORT-TERM MEMORY • SELECTIVE ATTENTION:ความสามารถจดจ่อ(focusing)อยู่กับความรู้สึกใดความรู้สึกหนึ่งได้ เราจะให้ความสนใจต่อคุณสมบัติของ ข้อมูลทางกายภาพ-PHYSICAL INFORMATION ( เช่น ทิศทาง, คุณภาพของเสียง) ก่อนเนื้อหาหรือ ความคิดรวบยอด ของข้อมูล-CONCEPTUAL INFORMATION

  8. จงจำ 5 คำต่อไปนี้

  9. ต้นไม้ดอกไม้กระรอกบันไดบ้านต้นไม้ดอกไม้กระรอกบันไดบ้าน

  10. ต้นไม้ ดอกไม้ กระรอก บันได บ้าน ต้นไม้ ดอกไม้ กระรอก บันได บ้าน ต้นไม้ ดอกไม้ กระรอก บันได บ้าน ต้นไม้ ดอกไม้ กระรอก บันได บ้าน

  11. ต้นไม้ ดอกไม้ กระรอก บันได บ้าน

  12. ENCODING:เป็นการเปลี่ยนsensory stimuliไปเป็นรูปแบบที่สามารถถูกเก็บไว้ในความจำได้ มักนำข้อมูลเก่ามาใช้ในการวิเคราะห์ หรือจัดการกับข้อมูลนั้น

  13. ENCODING STRATIGIES (กลวิธีที่ใช้ในการencoding) - NAMING - MENTALLY PICTURING

  14. TYPE OF ENCODING • EFFORTFUL ENCODING • AUTOMATIC ENCODING

  15. EFFORTFUL ENCODING: ใช้ความตั้งใจในการจำและใช้กระบวนการที่ทำให้ข้อมูลละเอียดขึ้น(elaboration) และเปลี่ยนแปลงไป(transformation) โดยการ naming และ mentally picturing

  16. AUTOMATIC ENCODING:ได้แก่ 1. ตอนเรียนประถม 6 ท่านไปโรงเรียนอย่างไร ? 2. เมื่อชั่วโมงก่อนท่านนั่งที่ใดในห้องบรรยาย ? 3.เป็นช่วงเวลาไหนของวันที่ท่านไปที่ร้านหนังสือเป็นครั้งสุดท้าย ?

  17. AUTOMATIC ENCODING: 4.ท่านไปโรงภาพยนตร์กี่ครั้งในเวลา 3 เดือนที่ผ่านมา ? 5.ในภาษาไทยมีคำที่ลงท้ายด้วย “ง” หรือ “ฟ” มากกว่ากัน ? 6. ชื่อใดพบได้บ่อยกว่ากัน “ชวลิต” หรือ “บรรหาร” ?

  18. ข้อมูลที่เกี่ยวกับที่อยู่เวลาและสถานที่(คำถามที่1-3)ช่วยให้เราสามารถปรับตัวเมื่อพบกับสถานการณ์ใหม่ๆได้เร็วขึ้นความสำคัญข้อมูลเกี่ยวกับความถี่ (คำถามที่4-6)อาจทำให้เราสามารถเรียก (retrieve) ข้อมูลจาก long-term memory อย่างมีประสิทธิภาพยังช่วยในการจัดหมวดหมู่(categorize) วัตถุ(object) และเหตุการณ์ต่างๆและช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการประเมินความเป็นไปได้

  19. Short-Term Storage ENCODED INFORMATION SHORT-TERM MEMORY(10-20 sec.) REHEARSALNO REHEAESAL DISTRACTED MAINTENANCE DECAYED IN 12 SEC.

  20. REHEARSAL PROCESS เป็นรูปแบบหนึ่งของการพูด(speech)ทั้งออกเสียงและในใจ ช่วยในการรักษาข้อมูลไว้ใน short-term memory ฟังเสียงที่กำลังพูดและเก็บข้อมูลเข้าไปใหม่(re-store)

  21. C P Q K Y

  22. 270 -3 (270, 267,……..)x12 SEC.

  23. ปัจจัยที่อาจเป็นผลต่อSHORT-TERM MEMORY • ระดับ ความแปลกใหม่ ของข้อมูล (มีความสัมพันธ์กับข้อมูลที่เก็บไว้ใน long-term memory เพียงใด) • Motivation: if no motivation -information loss from short-term storage in 2 sec. • Clustering or Chunking

  24. ท่านต้องการเวลานานเท่าใด?ท่านต้องการเวลานานเท่าใด? ในการ encode คำ หรือ ประโยคใหม่ ต่อไปนี้

  25. Hiding Dagger Behind a Smile

  26. ODONTOLOGY

  27. 116197457170332 335845889105475

  28. Kate Moss Birthday:January 16, 1974Height:5' 7" (170cm)Measurements:33"-23"-35" (84-58-89cm)Weight:105 lbs. (47.5 Kg.)Eyes/Hair: Hazel / Light Brown

  29. 1 16 1974 57 170 33 23 35: 84 58 89 105 475

  30. Steve Falcon(av. I.Q.):ฝึกchunking technique 20เดือนจำตัวเลขได้80 ตัว ( โดย basic STM ไม่เพิ่ม ) • Chunk:อาจเป็น ภาพเช่นการวางตัวของตัวหมากรุกในกระดาน(25,000-100,000 chunks)

  31. LONG-TERM MEMORY ( LTM ) • การเรียนรู้(learning) • สติปัญญา(intelligence) • ความรู้(knowledge)

  32. ชนิดของข้อมูลที่เก็บไว้ใน LTM • procedural memories • semantic memories • episodic memories:

  33. procedural memories • stimuli&response • เช่นการรับโทรศัพท์, การเหยียบเบรค

  34. semantic memories • เป็นความจำเกี่ยวกับ ตัวแทนหรือสัญลักษณ์ในใจของวัตถุ, สถานะหรือคุณภาพเมื่อเรานึกถึงความรู้ที่เป็น ความคิดรวบยอด(conceptual knowledge) • เช่นกฎของไวยากรณ์สูตรทางเคมี

  35. episodic memories • เป็นการระลึกถึงเหตุการณ์ที่เป็น ประสบการณ์ส่วนตัวย้อนหลังไปถึงช่วงวัยเด็กเหมือนตัดมาจากฉากภาพยนต์ • เช่นไปโรงเรียนวันแรกเล่นกับเพื่อนๆในสนามงานวันเกิดตอนอายุแปดขวบ

  36. Long-Term Storage and Retrieval ข้อมูลถูกเก็บใน LTM อย่างไรยังไม่เข้าใจแน่ชัด แต่ กระบวนการนี้ขึ้นอยู่กับ • ระยะเวลาในการ rehearsal • ชนิดของการ rehearsal

  37. ชนิดของREHEARSAL • shallow processing or maintenance rehearsal • deep processing or elaborative rehearsal

  38. shallow processing or maintenance rehearsal • เป็นการท่องซ้ำๆโดยไม่พิจารณาความหมาย • เช่นการท่องเบอร์โทรศัพท์

  39. deep processing or elaborative rehearsal • processต่อในใจ • เช่นสร้างภาพพจน์, ใช้แก้ปัญหาหรือเอาไปสัมพันธ์กับสิ่งอื่นๆซึ่งจะทำให้สามารถเก็บใน LTS ได้ • การเข้าใจความหมาย(semantic)ของสิ่งเร้าเป็นหนทางสำคัญสู่deep processing

  40. Semantic:(ความหมาย)เช่นคำนี่มีความหมายเดียวกับคำว่า “ใหญ่” หรือไม่? • Nonsemantic:(มักเกี่ยวกับลักษณะของคำ)เช่นมีสระกี่ตัวพิมพ์ด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ใช่หรือไม่?

  41. Retrieving Information from LTM 2 Basic Processes • Recognition:เป็นการตัดสินใจว่าเราเคยประสบกับสิ่งเร้าใดสิ่งเร้าหนึ่งมาก่อนหรือไม่,matching process, ใช้การประเมินวัตถุเป็นส่วนๆมากกว่าโดยรวม“ deja vu”อาจเกิดจาก“partial recognition” • Recall:เป็นการระลึกถึงลักษณะพิเศษของข้อมูล, มักเกิดจากการชี้นำRETRIEVAL CUES:

  42. TIP-OF-THE-TONGUE PHENOMENON • รู้ว่าเราได้เก็บบางสิ่งไว้ในความจำแล้วแต่ไม่สามารถค้นพบได้ในเวลาอันรวดเร็ว • ต้องใช้retrieval cuesช่วยได้แก่เสียง (โดยเฉพาะอย่างยิ่งอักษรตัวแรก)ความหมายหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับสิ่งนั้น

  43. FACTORS AFFECTING LTM PERFORMANCE • USING MNEMONIC DEVICES(memory aids) [mneme(Gr.) = memory] • RECONSTRUCTING CONTEXT AND MOOD • SCHEMAS, EXPECTATIONS, AND INFERENCES

  44. USING MNEMONIC DEVICES method of loci:เป็นการเชื่อมโยงสิ่งที่จะจำกับ series ของสถานที่ที่เราจำได้แม่นShereshevskyจำคำที่ไม่เกี่ยวข้องกันได้ถึง50คำ key word system:โดยเชื่อมโยงคำที่จะจำกับคำสำคัญที่เหมาะสม 1=bun 2=shoe 3=tree 4=door 5=hive 6=stick 7=heaven 8=gate 9=line 10=hen

  45. RISK FACTORS FOR SUICIDE‘Sad Persons’ • Sex • Age • Depression • Previous attempt • Ethanol and drug abuse • Rational thinking is impaired • Support networks not available • Organized plan • No spouse • Sickness

  46. eidetic images:เด็กบางคนและในผู้ใหญ่บ้างเล็กน้อยสามารถคงภาพและรายละเอียดปลีกย่อยนาน1-2 นาที • photographic memory:ผู้ใหญ่บางคนสามารถจำภาพได้อย่างชัดเจนโดยไม่เลือนหายไปและสามารถระลึกได้เมื่อต้องการ

  47. RECONSTRUCTING CONTEXT AND MOOD • reconstructing context:การสร้างเรื่องราวขึ้นมาใหม่เช่นถ้าต้องการจำชื่อเพื่อนร่วมชั้นมัธยมทำได้โดยสร้างฉากต่างๆในสมัยเรียนมัธยมและพยายามนึกชื่อเพื่อนในฉากต่างๆเหล่านั้น • mood: - mood dependent memory Sirhan ผู้สังหาร Robert Kennedy -mood-congruent recall: การจำข้อมูลที่สอดคล้องกับอารมณ์ได้ดี

More Related