1 / 11

โรคพยาธิตัวกลม เป็นปัญหาในลูกสัตว์ (อายุน้อยกว่า 6 เดือน) เช่น พยาธิเส้นด้าย

โรคพยาธิตัวกลม เป็นปัญหาในลูกสัตว์ (อายุน้อยกว่า 6 เดือน) เช่น พยาธิเส้นด้าย พยาธิไส้เดือน(ลูกกระบือ) พยาธิปากขอ เป็นต้น ส่วนใหญ่ติดจากการกินพยาธิตัวอ่อนที่อยู่ในทุ่งหญ้า นอกจากนี้ตัวอ่อนพยาธิตัวกลมบางชนิดสามารถไชเข้าทางผิวหนัง หรือบางชนิดอาจติดผ่านทางรกและน้ำนมแม่สัตว์. การรักษา

zephr-case
Télécharger la présentation

โรคพยาธิตัวกลม เป็นปัญหาในลูกสัตว์ (อายุน้อยกว่า 6 เดือน) เช่น พยาธิเส้นด้าย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรคพยาธิตัวกลม • เป็นปัญหาในลูกสัตว์ (อายุน้อยกว่า 6 เดือน) เช่น • พยาธิเส้นด้าย • พยาธิไส้เดือน(ลูกกระบือ) • พยาธิปากขอ เป็นต้น • ส่วนใหญ่ติดจากการกินพยาธิตัวอ่อนที่อยู่ในทุ่งหญ้า นอกจากนี้ตัวอ่อนพยาธิตัวกลมบางชนิดสามารถไชเข้าทางผิวหนัง หรือบางชนิดอาจติดผ่านทางรกและน้ำนมแม่สัตว์ โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ

  2. การรักษา • ใช้ยากลุ่มBenzimidazoles เช่น Fenbendazole, Oxfendazole หรือ ยา Levamisole หรือ Ivermectin เป็นต้น • ยาที่แนะนำให้ใช้โดยกรมปศุสัตว์คือยาที่ราคาถูกมาก แต่สามารถใช้ยาถ่ายพยาธิตัวกลมทั่วไปที่มีขายในท้องตลาดได้ • โปรแกรมการถ่ายพยาธิตัวกลมในลูกโค (กรมปศุสัตว์) • ช่วงอายุ 3 อาทิตย์แรกให้ถ่ายพยาธิไส้เดือนด้วยยา Piperazine หรือ Pyrantel tartrate ส่วนในลูกกระบือให้ถ่ายพยาธิหลังจากคลอด 2 อาทิตย์ • ช่วงอายุ 10 อาทิตย์ให้ถ่ายพยาธิซ้ำอีกครั้งด้วยยา Thiabendazole โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ

  3. การควบคุมและป้องกันโรคการควบคุมและป้องกันโรค • 1. ถ่ายพยาธิลูกสัตว์ก่อนปล่อยลงแปลงหญ้าอย่างน้อย 2 อาทิตย์และถ่ายตามโปรแกรมที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ หรือ ปีละอย่างน้อย 2 ครั้งในโคที่โตเต็มที่ • 2. กำจัดอุจจาระและของเสียในฟาร์มไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์โรค • 3. กำจัดพาหะนำโรค • 4. ดูแลไม่ให้สัตว์ขาดอาหาร โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ

  4. โรคพยาธิตัวตืด • ส่วนพยาธิตัวตืด (Moniezia spp.)อาจเป็นปัญหาในบางพื้นที่ที่มีไรในทุ่งหญ้าเป็นพาหะนำโรค แต่จะเป็นปัญหาน้อยกว่าพยาธิที่ดูดเลือด ยกเว้นแต่การมีพยาธิจำนวนมากและเป็นพยาธิที่มีขนาดใหญ่ทำให้ทางเดินอาหารอุดตันได้ อาจทราบได้จากการที่พบตัวพยาธิหรือปล้องสุกของพยาธิปนออกมากับอุจจาระ • การรักษาใช้ยาในกลุ่ม Benzimidazoles เช่น Albendazole, Oxfendazole เป็นต้น ยานี้สามารถใช้ถ่ายพยาธิได้ทั้งพยาธิตัวกลมและพยาธิตัวตืด ที่มาภาพTaira et al., 1995 A Color Atlas of Clinical Helminthology of Domestic Animals. โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ

  5. เชื้อบิดคือพยาธิชนิดโปรโตซัว มักเป็นในลูกสัตว์อายุหลายอาทิตย์จนถึงหลายเดือน ระบาดมากในฤดูฝน เกิดจากการกินเชื้อที่อยู่ใน ดิน ทำให้เกิดอาการท้องเสียเป็น มูกเลือด มีกลิ่นคาวจัด สัตว์จะแสดง อาการปวดท้องยืนโก่งหลัง อาการ จะรุนแรงมากในลูกสัตว์ ทำให้ถึง ตายได้ การรักษา ให้ยา Sulfadimethoxine กิน ขนาด 100, 50, 50 mg/kg BW กินติดต่อกัน 3 วัน เชื้อ Eimeria zuerniiและ Eimeria bovis(ใหญ่สุด) โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ

  6. โรคพยาธิใบไม้ในตับ ระบาดวิทยา • เป็นพยาธิที่สำคัญในโค กระบือ อายุมากกว่า 8 เดือน รวมทั้ง แพะ แกะ (หรือหลังจากสัตว์กินหญ้าประมาณ 3 เดือน) และมีการระบาดในพื้นที่ที่มีหนองน้ำ โดยมีหอยชนิดหนึ่งเป็นพาหะนำโรค • ในประเทศไทยมีการระบาดทุกภาค เฉลี่ยประมาณ 10 %(0-80%) การติดต่อ • โดยการกินระยะติดต่อ (metacercaria) ซึ่งอยู่ที่หญ้า โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ

  7. อาการของโรคพยาธิใบไม้ในตับอาการของโรคพยาธิใบไม้ในตับ โค>8 เดือน จะป่วยเป็นโรค ซึ่งบางตัวจะแสดงอาการท้องเสีย และเหนื่อยง่าย การตรวจอุจจาระพบ ไข่พยาธิใบไม้ในตับ (40X) ฝาปิด โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ

  8. พื้นที่ที่มีการระบาดจะมีน้ำท่วมขังเป็นประจำและเป็นเวลานานพื้นที่ที่มีการระบาดจะมีน้ำท่วมขังเป็นประจำและเป็นเวลานาน

  9. โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ

  10. วิการพยาธิใบไม้ในตับโค (Fasciola gigantica) ระยะตัวอ่อนของพยาธิ ~ 6-8 wk ระยะตัวแก่ของพยาธิ ~ 8-12 wk ที่มาภาพTaira et al., 1995 A Color Atlas of Clinical Helminthology of Domestic Animals. โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ

  11. การรักษา มีทั้งการให้ยากิน เช่น Albendazole Triclabendazole และยาฉีดเช่น Nitroxynilแต่ส่วนใหญ่ไม่เหมาะจะให้ในโครีดนมจะต้องให้ยาตามโปรแกรม อย่างน้อยปีละ 2ครั้ง การควบคุมโรค 1. กำจัดอุจจาระไม่ให้มีไข่พยาธิลงไปในน้ำ 2. ถมแหล่งที่ลุ่มขังน้ำ 3. ไม่เลี้ยงสัตว์ให้กินหญ้าบริเวณแหล่งน้ำที่มีการระบาดของโรค 4. กำจัดหอย: ทางตรงคือ กำจัดพืชน้ำในคลอง ส่วนทางอ้อม เช่น เลี้ยงเป็ด โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ

More Related