1 / 36

การบริหารจัดการผู้ป่วยโรคหืด (Asthma) และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD)

การบริหารจัดการผู้ป่วยโรคหืด (Asthma) และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD). นายแพทย์อุดม อรุณรุ่งศรี รองผู้อำนวยการ สปสช.เขต 8 อุดรธานี. 29 มีนาคม 2554. หัวข้อบรรยาย. วัตถุประสงค์ เป้าหมายการสนับสนุนบริการ Asthma & COPD แนวทางการดำเนินการ การดำเนินการ

daria
Télécharger la présentation

การบริหารจัดการผู้ป่วยโรคหืด (Asthma) และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารจัดการผู้ป่วยโรคหืด(Asthma)และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD)การบริหารจัดการผู้ป่วยโรคหืด(Asthma)และโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง(COPD) นายแพทย์อุดม อรุณรุ่งศรี รองผู้อำนวยการ สปสช.เขต 8 อุดรธานี 29 มีนาคม 2554

  2. หัวข้อบรรยาย • วัตถุประสงค์ • เป้าหมายการสนับสนุนบริการ Asthma & COPD • แนวทางการดำเนินการ • การดำเนินการ • การสนับสนุนการจัดคลินิกผู้ป่วยนอกโรคหืดแบบง่าย • ผลการดำเนินงานปี 2554-2556 • การชดเชยบริการปี 2557 • ระบบข้อมูลทะเบียนผู้ป่วยหอบหืดและปอดอุดกั้นเรื้อรัง

  3. แนวทางการดำเนินการ • ทบทวนสถานการณ์ คุณภาพบริการ • พัฒนารูปแบบการให้บริการที่เป็นไปตามมาตรฐาน • นำร่องการให้บริการที่สอดคล้องกับมาตรฐานการให้บริการ • สนับสนุนการให้บริการตามรูปแบบที่พัฒนา • ติดตามประเมินผล

  4. การดำเนินการ

  5. สนับสนุนการจัดคลินิกผู้ป่วยนอกโรคหืดแบบง่ายสนับสนุนการจัดคลินิกผู้ป่วยนอกโรคหืดแบบง่าย • ปี 2551: นำร่องการพัฒนาบริการ Easy asthma clinic (EAC) เขตขอนแก่น • ปี 2552-53 : • สนับสนุนการจัดตั้งคลินิกโรคหืดแบบง่ายในหน่วยบริการประจำ • อบรม ฟื้นฟูความรู้แพทย์ พยาบาล เภสัชกร เพื่อสนับสนุนการรักษา ตามCPG การใช้ PEF การสอนและประเมินการใช้ยาสูดอย่างถูกวิธี สนับสนุนโดยสมาคมสภาองค์กรโรคหืดฯ และคณะแพทยศาสตร์ ม.ขอนแก่น • ปี 2554-2556 : พัฒนาระบบข้อมูลผู้ป่วยโรคหอบหืดใช้โปรแกรมบันทึกข้อมูล (EAC)

  6. อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล (Admission rate) ด้วยโรคหืดทุกกลุ่มอายุ สิทธิ UC จำแนกตามพื้นที่ลงทะเบียน (hmain) ค่าเฉลี่ยระดับประเทศ

  7. อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาล (Admission rate) ด้วยโรคหืดทุกกลุ่มอายุ สิทธิ UC จำแนกตามพื้นที่ลงทะเบียน (hmain)

  8. อัตราป่วยตาย (Fatality rate) ด้วยโรคหืดทุกกลุ่มอายุ สิทธิ UC จำแนกตามพื้นที่ลงทะเบียน (hmain)

  9. การชดเชยบริการ ปี 2557 Asthma (PDX : J45-J46) 1. ชดเชยการรักษาตามเงื่อนไขที่กำหนด (1,000 หน่วยคะแนน/ราย) 2. ชดเชยตามผลลัพธ์การให้บริการ (1,000/1,500/2,000 ) COPD 1. ชดเชยการรักษาตามเงื่อนไขที่กำหนด (1,000 หน่วยคะแนน/ราย) 2. ชดเชยตามผลการให้บริการฟื้นฟูสมรรถภาพปอด(1,000 หน่วยคะแนน/ราย) • 3.ตรวจสมรรถภาพปอด Spirometryแก่ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง จะได้รับการชดเชย 400 หน่วยคะแนนต่อราย

  10. รายละเอียดการจัดสรร

  11. รายละเอียดการจัดสรร

  12. รายละเอียดการจัดสรร

  13. รายละเอียดการจัดสรร

  14. รายละเอียดการจัดสรร

  15. รายละเอียดการจัดสรร

  16. รายละเอียดการจัดสรร

  17. รายละเอียดการจัดสรร

  18. ระยะเวลาการส่งข้อมูล • การส่งข้อมูล (หากสามารถ Link ข้อมูลจากโปรแกรม EAC ไปโปรแกรม สปสช. จะแจ้งให้ทราบ) • ส่งชุดข้อมูล (data set)ผ่าน Website สปสช.( AsCOP) • http://copd.nhso.go.th/copd/homeAction) • ใช้ข้อมูลจาก OPindividual

  19. การจัดสรรงบกองทุนดูแลผู้ป่วยนอกโรคหืดและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2556 สปสช.เขต 8 อุดรธานี

  20. ชดเชย Asthma (รวม)เปรียบเทียบปี 2555-2556

  21. ชดเชย COPD (รวม)เปรียบเทียบปี 2555-2556

  22. ระบบข้อมูลทะเบียนผู้ป่วยหอบหืดและปอดอุดกั้นเรื้อรังระบบข้อมูลทะเบียนผู้ป่วยหอบหืดและปอดอุดกั้นเรื้อรัง

  23. Op_indiv. Data flow สามารถ key ได้ 4 ทาง IP 1 2 3 4 Easy asthma ของ รพ.ศรีนครินทร์ HIS ของ รพ.ที่รักษา คีย์ผ่าน Ms.Excel Web portal Export ตาม Format ตาม ASCOP จะเชื่อมกับ easy asthma และรายงานผล,ประมวลผลเป็นรายรอบ ฐานข้อมูล Asthma,COPD

  24. New design ข้อมูลผู้ป่วยหอบหืดและปอดอุดกั้นเรื้อรัง บูรณาการฐานข้อมูลผป. asthma ,COPD Web Portal ฐานทะเบียน หอบหืด COPD ตรวจสอบสิทธิ ลงทะเบียนผู้ป่วย หอบหืด COPD • คลินิก Easy asthma • -รับประเมินสมรรถปอด • -ให้สุขศึกษา • รับยาพ่น • ฟื้นฟูสุขภาพ (COPD) OP_indiv.+IP ICD10 ของ asthma ,COPD ฐานทะเบียนผู้มิสิทธิ สปสช. คลินิค Easy asthma ติดตามประเมินผลผู้ป่วย Easy asthma, ASCOP

  25. คุณสมบัติที่ดีของข้อมูลคุณสมบัติที่ดีของข้อมูล 1. ความถูกต้องหากมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วข้อมูลเหล่านั้นเชื่อถือไม่ได้จะทำให้เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้จะไม่กล้าอ้างอิงหรือนำเอาไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเป็นเหตุให้การตัดสินใจของผู้บริหารขาดความแม่นยำและอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลที่ออกแบบต้องคำนึงถึงกรรมวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยำมากที่สุด โดยปกติความผิดพลาดของสารสนเทศส่วนใหญ่ มาจากข้อมูลที่ไม่มีความถูกต้องซึ่งอาจมีสาเหตุมาจาก คนหรือเครื่องจักร การออกแบบระบบจึงต้องคำนึงถึงในเรื่องนี้

  26. คุณสมบัติที่ดีของข้อมูล(ต่อ)คุณสมบัติที่ดีของข้อมูล(ต่อ) 2. ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบันการได้มาของข้อมูลจำเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียกค้น และรายงานตามความต้องการของผู้ใช้ 3. ความสมบูรณ์ความสมบูรณ์ของสารสนเทศขึ้นกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการทางปฎิบัติด้วย ในการดำเนินการจัดทำสารสนเทศต้องสำรวจและสอบถามความต้องการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ในระดับหนึ่งที่เหมาะสม

  27. Thank you for your attention

More Related