1 / 4

ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 (2555-2559) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข

ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 (2555-2559) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข. ยุทธศาสตร์. ระบบสุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน. ผลลัพธ์สำคัญปีงบประมาณ 2554

halla-morin
Télécharger la présentation

ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 (2555-2559) vs ยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์การวิจัยฉบับที่ 8 (2555-2559) vsยุทธศาสตร์และแผนวิจัยระบบสาธารณสุข

  2. ยุทธศาสตร์ ระบบสุขภาพที่เป็นธรรมและยั่งยืน ผลลัพธ์สำคัญปีงบประมาณ 2554 1 ข้อเสนอพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน และโมเดลตัวอย่างไม่น้อยกว่า 3 พื้นที่ + ข้อเสนอนโยบายใหม่ที่สนับสนุนการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน & ระบบสุขภาพไม่น้อยกว่า 3 นโยบาย 2 ผลประเมินนโยบายที่สนับสนุนความเป็นธรรมด้านสุขภาพไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง 3 ระบบ/กลไก เครื่องมือ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาข้อมูลสนับสนุนการกำกับติดตาม และประเมินระบบสุขภาพ 4 มีเครือข่ายวิจัยระบบสุขภาพ มีองค์กรสนับสนุนพัฒนาระบบวิจัยสุขภาพที่ทำงานร่วมกับองค์กรนโยบายวิจัยชาติ มีนโยบายระบบวิจัยสุขภาพ/การเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติ 5 แผนงาน/โครงการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการภายในของ สวรส. และเครือข่ายสถาบันฯ บรรลุตามเป้าหมายไม่น้อยกว่า 80% สร้างและจัดการความรู้ผ่านทุนการวิจัยระบบสุขภาพ สร้างและจัดการความรู้ผ่านการขยายทุนการวิจัยระบบสุขภาพ สร้างและจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนการพัฒนานโยบาย เสริมสร้างศักยภาพระบบวิจัยสุขภาพ เป้าประสงค์ 1 พัฒนาระบบสุขภาพชุมชน 2 วิจัยนโยบาย สร้างกลไกอภิบาลระบบสุขภาพ 3 พัฒนาศักยภาพระบบวิจัย 4 พัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร และเครือข่ายฯ

  3. ระบบสุขภาพเป็นธรรมและยั่งยืนระบบสุขภาพเป็นธรรมและยั่งยืน นโยบายสร้างความเป็นธรรมต่อระบบสุขภาพ เครือข่ายจัดการความรู้ วิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน เครือข่ายอภิบาลระบบสุขภาพ กลไกอภิบาลระบบสุขภาพ: ข้อมูล รายงาน การสื่อสาร เครื่องมือใหม่ ระบบปฏิบัติการสนับสนุนความเป็นธรรมต่อระบบสุขภาพ สร้างและจัดการความรู้ผ่านทุนการวิจัยระบบสุขภาพ สร้างและจัดการความรู้เพื่อสนับสนุนการพัฒนานโยบาย สร้างและจัดการความรู้ผ่านการขยายทุนการวิจัย เสริมสร้างศักยภาพระบบวิจัย ผลลัพธ์ปีงบประมาณ 2554 เป้าหมาย: นโยบาย กลไกอภิบาล 1 วิจัยนโยบายระบบสุขภาพ: ประเมินนโยบายสำคัญ, ระบบยา, APEIR, ระบบประกันสุขภาพ 2 วิจัยระบบอภิบาล: การบริหารนโยบายองค์กรนโยบาย, ดัชนีธรรมาภิบาล สสจ, สำรวจดัชนีความเชื่อมั่นระบบ, กระจายอำนาจสุขภาพ 3 วิจัยเครื่องมืออภิบาลระบบ: รูปแบบการจ่ายเงินระบบประกันฯ, ระบบการเงินการคลังสุขภาพชาติ, health literacy 4 บริหารและพัฒนาระบบข้อมูล: มาตรฐานระบบข้อมูล, case-mix centre เป้าหมาย: ระบบสุขภาพชุมชน 1 วิจัยระบบบริการ: ปฐมภูมิ & รพสต การส่งต่อ กลุ่มเฉพาะ (ผู้สูงอายุ คนพิการ กลุ่มด้อยโอกาสต่างๆ), ภูมิปัญญาไทย, การแพทย์ฉุกเฉิน 2 วิจัยและพัฒนาสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ 3 วิจัยความเป็นธรรมเชิงสังคมศาสตร์ในกลุ่มเฉพาะ 4 วิจัยและพัฒนาระบบสื่อสารกลุ่มด้อยโอกาส เป้าหมาย: ศักยภาพระบบวิจัย 1 ระบบวิจัยสุขภาพ: พัฒนา policy unit กับองค์กรนโยบายวิจัยชาติ, สนับสนุนกลไก คกก วิจัยระบบสุขภาพ 2 พัฒนาเครือข่าย R2R: เครือข่ายภูมิภาค และเฉพาะประเด็น 3 เครื่องมือการวิจัยระบบสุขภาพ: การคุ้มครองการวิจัยในมนุษย์ Learning Systems เป้าหมาย: ศักยภาพระบบจัดการภายในและเครือข่ายสถาบันฯ ระบบการจัดการความเสี่ยง ควบคุมภายใน ทบทวนระเบียบ กฎเกณฑ์ ระบบสารบรรณ จัดซื่อจัดจ้าง บริหารและพัฒนากำลังคน ระบบสารสนเทศ ระบบการจัดการความรู้ (ห้องสมุด) + การสื่อสารความรู้

  4. ระบบสุขภาพชุมชน, ระบบบริการปฐมภูมิ, ระบบส่งต่อ, สิ่งแวดล้อมvs สุขภาพ, กลุ่มเสี่ยงและด้อยโอกาส, การดูแลที่บ้านต่อเนื่อง, เครื่องมือจัดการตนเองสำหรับผู้ป่วยโรคเรื้อรัง, ระบบข้อมูลกำกับติดตาม ประเมิน การแพทย์ฉุกเฉิน เพื่อเตรียมความพร้อม รองรับ ประเมินเทคโนโลยี, พัฒนาบุคลากร, จัดการความรู้ (ทำงานร่วมกับองค์กรหลัก) พัฒนาศักยภาพการจัดการงานวิจัย/ความรู้ในเครือข่ายวิจัยระบบสุขภาพ เช่น R2R, ร่วมกับองค์กรนโยบายวิจัยชาติกำหนดนโยบาย อื่นๆ เครื่องมือประเมิน (สสจ), ระบบสุขภาพ, องค์กรให้ทุนวิจัย /องค์กรวิจัย, การปรับเปลี่ยนบทบาทองค์กรนโยบายสุขภาพต่างๆเพื่อการบูรณาการ สร้าง platform/กลไกชั่วคราวพัฒนานโยบายการบูรณาการระบบวิจัยสุขภาพร่วมกับองค์กรนโยบายวิจัย:model ตัวอย่าง สู่ structural reform

More Related