1 / 96

เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับครอบครัว สิ่งแวดล้อม ชุมชน สังคมและการสื่อสาร

การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่ออบรมทักษะ ในการปฏิบัติงานด้านการจำแนก. เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับครอบครัว สิ่งแวดล้อม ชุมชน สังคมและการสื่อสาร.

hiram-miles
Télécharger la présentation

เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับครอบครัว สิ่งแวดล้อม ชุมชน สังคมและการสื่อสาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่ออบรมทักษะการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่ออบรมทักษะ ในการปฏิบัติงานด้านการจำแนก เรื่องความรู้เกี่ยวกับครอบครัว สิ่งแวดล้อม ชุมชน สังคมและการสื่อสาร โดย รองศาสตราจารย์ระพีพรรณ คำหอม คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์วันที่ 18 กรกฎาคม 2557 เวลา 09.00-12.00 น. ณ โรงแรมโฟร์วิงส์ สุขุมวิท กรุงเทพมหานคร

  2. ประเด็นการนำเสนอ • การประเมินครอบครัว ชุมชน สังคม • 2. เครื่องมือการประเมินครอบครัว ชุมชน และสังคม

  3. 1.การประเมินครอบครัว ชุมชน สังคม • ประเภทของครอบครัว 1.ครอบครัวเดี่ยว (Nuclear Family) 2.ครอบครัวขยาย (Extended Family) 3.ครอบครัวผสม (Reconstituted Family) 4.ครอบครัวที่มีพ่อหรือแม่เพียงคนเดียว (Single-Parent Family) • คุณสมบัติของระบบครอบครัว • ครอบครัวเป็นระบบเปิดทางสังคมและวัฒนธรรม (Open Socio Cultural System) • ครอบครัวมีการเปลี่ยนแปลง (Transformation) • ครอบครัวมีการจัดระบบภายในเพื่อความสมดุลย์(Homeostasis) • ครอบครัวมีการสื่อสาร (Communication) • ครอบครัวที่มีกฎที่สมาชิกต้องถือปฏิบัติ (Rules of family) • ครอบครัวมีขอบเขตของตนเอง (Boundaries)

  4. การช่วยแก้ปัญหา (Problem Solving) การสร้างการสื่อสาร (Communication) การกำหนดบทบาท (Role) การตอบสนองต่ออารมณ์ (Affective Responsiveness) ความผูกพันทางอารมณ์ (Affective Involvement) การควบคุมพฤติกรรม (Behavior Control) การทำหน้าที่ของครอบครัว

  5. วงจรชีวิตครอบครัว (Family Life Cycle)

  6. ขั้นตอนการใช้เครื่องมือวงจรชีวิตครอบครัวขั้นตอนการใช้เครื่องมือวงจรชีวิตครอบครัว 1.ทำความเข้าใจกับวงจรชีวิตครอบครัวแต่ละระยะ 2.ประเมินว่า ครอบครัวปฏิบัติภารกิจที่สำคัญได้สำเร็จหรือไม่ - ถ้าครอบครัวปฏิบัติภารกิจสำคัญสำเร็จ ครอบครัวนั้นจะสามารถก้าวไปสู่วงจรชีวิตครอบครัวระยะต่อไปได้โดยไม่มีความเครียด - แต่ในครอบครัวที่ปฏิบัติภารกิจสำคัญไม่สำเร็จจะทำให้ครอบครัวนั้นเผชิญกับ ความเครียด นำไปสู่การเกิดปัญหาในครอบครัวได้ 3. คัดกรองความเครียดครอบครัวและสมาชิกในครอบครัว - ประเมินว่าครอบครัวสามารถจัดการกับความเครียด (Family Coping) ได้หรือไม่ และว่าความเครียดนั้นมีผลกระทบต่อสมาชิกในครอบครัวอย่างไร - วางแผนการดูแลที่เฉพาะสำหรับผู้รับบริการแต่ละรายโดยการพยากรณ์จากธรรมชาติของวงจรชีวิตครอบครัวในระยะสั้น ๆ 4. ติดตามดูแลต่อเนื่อง

  7. การวิเคราะห์ระบบครอบครัว (Family system assessment) 1. เป็นครอบครัวระยะใด (Family life cycle) 2. มีใครอยู่บ้าง (Family as a system) 3. ปกติอยู่กันอย่างไร มีใครทำอะไรกันบ้าง (Roles, Family stability or homeostasis) 4. ผู้อาวุโสตามลำดับเป็นใครบ้าง (Hierarchy) 5.มีมุ้งเล็กในมุ้งใหญ่อย่างไร (Boundaries, Alliance, Coalition) 6.เมื่อเกิดปัญหาในครอบครัว ครอบครัวมีการปรับตัวอย่างไร (Family coping) 7.ครอบครัวมีรูปแบบการแก้ปัญหาที่ผ่านมาอย่างไรถ่ายทอดข้ามรุ่นหรือไม่ (Family pattern) 8.ใครคือผู้ที่อาจจะมีโอกาสเกิดปัญหาในอนาคตบ้าง(ผู้ใช้สารเสพติด ผู้กระทำผิดกม.)

  8. เป็นครอบครัวระยะใด มีใครอยู่บ้าง ปกติอยู่กันอย่างไร มีใครทำอะไรกันบ้าน ผู้อาวุโสตามลำดับเป็นใครบ้าง การวิเคราะห์ระบบครอบครัว

  9. วาดอย่างน้อย 3 รุ่น เริ่มจากตัวผู้ป่วยหลัก ลำดับพี่น้อง/สามีภรรยา จากซ้ายไปขวา วงรอบสมาชิกบ้านเดียวกับผู้ป่วย รายละเอียดสมาชิก ความสัมพันธ์ในครอบครัว แผนภูมิครอบครัว Genogram

  10. สัญลักษณ์บางอย่างในการเขียน family tree ชาย หญิง ผู้ใช้บริการ แต่งงาน (ระบุปี) 2526 แยกทางกัน 2539

  11. ลำดับบุตร (ระบุอายุ) 41 37 31 ปีเกิด ปีสิ้นชีวิต 2490 - 2545 อาศัยอยู่ด้วยกัน โดยไม่แต่งงาน 2530

  12. หย่า 2547 บุตรบุญธรรม

  13. บุตรอุปถัมภ์ . . . . เสียชีวิตขณะตั้งครรภ์

  14. ทำแท้ง แฝด

  15. ถูกกระทำ (Abuse) ละเลย ทอดทิ้ง (Neglect) ถูกกระทำทางเพศ (Sexual abuse)

  16. ถูกกระทำทางร่างกาย (Physical Abuse) ถูกกระทำทางจิตใจ (Emotion Abuse) ความไม่ไว้วางใจ (Distrust)

  17. การควบคุม (Controlling) อิจฉา (Jealous) เลื่อมใส/ศรัทธา (Admirer)

  18. ความขัดแย้ง (Conflict) รังเกียจ (Hate) รัก (Love)

  19. ทำให้เห็นบริบทที่ช่วยเหลือ สนับสนุนครอบครัว เช่น โรงเรียน ที่ทำงาน ญาติ เพื่อน ฯลฯ นำไปสู่การวางแผนช่วยเหลืออย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น 2.Eco mapระบบนิเวศของครอบครัว

  20. ความสัมพันธ์แข็งแกร่งความสัมพันธ์แข็งแกร่ง ความสัมพันธ์ที่เป็นปัญหา ทิศทางความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ไม่แข็งแรง -------------- แหล่งประโยชน์ สัญลักษณ์บางอย่างที่ใช้ใน Eco map

  21. ตัวอย่างการเขียน Genogramor Family Tree ปู่ ย่า ตา ยาย น้าสาว น้าเขย แม่ บิดา บิดาเลี้ยง ลูกสาว โรคมะเร็ง 8 ปี 18 ปี 17 ปี 12 ปี ชายแปลกหน้า โรงเรียน จอมใจ 14 ปี ชุมชน เพื่อน สถานีตำรวจ ร้านอาหาร บ้านพักเด็กและครอบครัว

  22. ความรู้มุมมองการทำงานคน-สิ่งแวดล้อม-ชุมชน-สังคมความรู้มุมมองการทำงานคน-สิ่งแวดล้อม-ชุมชน-สังคม

  23. แบบประเมินความพร้อมของครอบครัวผู้ใช้บริการสังคมสงเคราะห์แบบประเมินความพร้อมของครอบครัวผู้ใช้บริการสังคมสงเคราะห์ ชื่อ – นามสกุลของผู้ให้ข้อมูล ....................... อายุ ............... ปี เกี่ยวข้องเป็น .............................ชื่อ – นามสกุลของผู้ใช้บริการ............................ HN. .............อายุ .......... ปี เวลา ............. ถึง ............... หอผู้ป่วย ............................วินิจฉัยโรค .......................... ประเมินก่อน ประเมินหลัง

  24. คำชี้แจง ใส่เครื่องหมาย ✓ ลงในช่อง □ ตามการประเมินความพร้อม ทั้งนี้แบบประเมินนี้ไม่สามารถใช้โดยการซักถาม/ สัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้ใช้บริการหรือผู้ให้ข้อมูลโดยตรง แต่ต้องมาจากการเก็บรวบรวมข้อมูลรอบด้านในกระบวนการปฏิบัติงานของนักสังคมสงเคราะห์คลินิก

  25. ** การให้คะแนนการประเมินข้อที่ 2 - 10 นับคะแนนตามจำนวนข้อที่เลือกตอบ

  26. ความพร้อมของครอบครัวอยู่ในระดับ ................................................ …………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและวางแผนให้ความช่วยเหลือ ................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................................ นักสังคมสงเคราะห์ผู้ประเมิน ................................................................วันที่.................................................................................................

  27. หมายเหตุ คะแนนน้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 หมายถึงระดับความพร้อมน้อยที่สุดใช้วิธี Family Therapy หมายถึง ระดับ น้อยที่สุด คะแนน 11 – 20 หมายถึง ระดับความพร้อมน้อย ใช้วิธี Family Therapy / Family Counseling คะแนน 21 – 30 หมายถึง ระดับความพร้อมปานกลาง ใช้วิธี Counseling คะแนน 31 – 40 หมายถึง ระดับความพร้อมมาก ใช้วิธี Psycho – Social Support คะแนน 41 – 47 หมายถึง ระดับความพร้อมมากที่สุด ใช้วิธี Psycho – Social Education ** ถ้าคะแนนอยู่ในระดับปานกลาง – มากที่สุด (21 คะแนนขึ้นไป) หมายถึง ครอบครัวมีความพร้อมในการดูแลผู้ป่วย ** ถ้าคะแนนอยู่ในระดับน้อย – น้อยที่สุด (น้อยกว่าหรือเท่ากับ 20 คะแนน) หมายถึง ครอบครัวไม่มีความพร้อมในการดูแลผู้ป่วย นักสังคมสงเคราะห์ต้องพิจารณาให้ความช่วยเหลือตามข้อที่มีคะแนนการประเมินน้อย

  28. ประเด็นการนำเสนอ 1.ความหมายของการสื่อสาร2.หลักการสื่อสารทั่วไป3.องค์ประกอบของการสื่อสาร4.เทคนิคการติดต่อสื่อสารในการให้บริการ5.ทฤษฎีการวิเคราะห์การติดต่อสื่อสาร (Transactional Analysis -TA) 6.ทักษะการสื่อสาร 7. สถานการณ์จำลองการฝึกปฏิบัติด้านการสื่อสาร

  29. ประเภทของการสื่อสาร 1.ความหมายของการสื่อสาร • กระบวนการทำความเข้าใจซึ่งกันและกันเป็นกระบวนการซึ่งสารถูกส่งจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร การสื่อสารเป็นกระบวนการรับรู้ร่วมกันในเรื่องของความคิด ความรู้สึกและความรู้ • การสื่อสารภายในตัวบุคคล (intrapersonal communication) • การสื่อสารระหว่างบุคคล (interpersonal communication) และการสื่อสารกลุ่มเล็ก (small group communication) • การสื่อสารกลุ่มใหญ่ (large group communication) • การสื่อสารในองค์การ (organizational ommunication) • การสื่อสารมวลชน (mass communication)

  30. การสื่อสาร • ส่งสารสาร รับสาร สัญญาณที่ส่งออกมา หรือสามารถสังเกตได้ รับสาร- ภาษาพูด ส่งสาร - ภาษากาย คำพูด น้ำเสียง แววตา สีหน้า การเคลื่อนไหวของร่างกาย

  31. แบบจำลองการสื่อสารแบบทางเดียวแบบจำลองการสื่อสารแบบทางเดียว

  32. ลักษณะของ S M C R model ปัจจัยสำคัญต่อขีดความสามารถของผู้ส่งและผู้รับที่จะทำให้การสื่อความหมายนั้นได้ผลสำเร็จหรือไม่เพียงใด ได้แก่ 1. ทักษะการสื่อสาร (Communication Skills) หมายถึง ทักษะซึ่งทั้งผู้ส่งและผู้รับควรจะมีความชำนาญในการส่งและการรับสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจกันได้อย่างถูกต้อง เช่น ผู้ส่งต้องมีความสามารถในการเข้ารหัสสาร มีการพูดโดยการใช้ภาษาพูดที่ถูกต้องใช้คำพูดที่ชัดเจนฟังง่าย มีการแสดงสีหน้าหรือท่าทางที่เข้ากับการพูด ท่วงทำนองลีลาในการพูด เป็นจังหวะน่าฟัง หรือการเขียนด้วยถ้อยคำสำนวนที่ถูกต้องสละสลวยน่าอ่าน เหล่านี้เป็นต้น ส่วนผู้รับก็ต้องมีความสามารถในการถอดรหัส และมีทักษะที่เหมือนกันกับผู้ส่ง โดยมีทักษะการฟังที่ดี ฟังภาษาที่ผู้ส่งพูดมารู้เรื่อง หรือสามารถอ่านข้อความที่ส่งมานั้นได้ เป็นต้น

  33. ลักษณะของ S M C R model 2. ทัศนคติ (Attitudes) เป็นทัศนคติของผู้ส่งหรือผู้รับซึ่งมีผลต่อการสื่อสาร เกี่ยวข้องกับการยอมรับซึ่งกันและกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับด้วย เช่น ถ้าผู้ฟังมีความนิยมชมชอบในตัวผู้พูดก็มักจะมีความเห็นที่คล้อยตามไปได้ง่ายกับผู้พูด แต่ในทางตรงข้ามก็จะเกิดการปฏิเสธ หรือถ้าทั้งสองฝ่ายมีทัศนคติที่ไม่ดีต่อกัน ท่วงทำนองหรือน้ำเสียงในการพูดก็อาจจะห้วนห้าว แต่ถ้ามีทัศนคติที่ดีต่อกันแล้วก็มักจะพูดกันด้วยความไพเราะอ่อนหวานน่าฟัง

  34. ลักษณะของ S M C R model 3. ระดับความรู้ (Knowledge Levels) ผู้ส่งและผู้รับมีระดับความรู้ที่เท่าเทียมกันก็จะทำให้การสื่อสารนั้นลุล่วงไปด้วยดี แต่ถ้าหากความรู้ของผู้ส่งและผู้รับมีระดับที่แตกต่างกัน ย่อมจะต้องมีการปรับความยากง่ายของข้อมูลที่จะส่งในด้านของความยากง่ายของภาษาและถ้อยคำสำนวนที่ใช้ เช่น *การไม่ใช้คำศัพท์ทางวิชาการ ภาษาต่างประเทศหรือถ้อยคำยาว ๆ สำนวนสลับซับซ้อน *การใช้ภาษาถิ่นสื่อสาร *การใช้ภาษามือของคนใบ้ ถ้า ผู้รับไม่เคยได้เรียนภาษามือมาก่อนจะทำให้ไม่เข้าใจและไม่สามารถสื่อสารกันได้

  35. ลักษณะของ S M C R model 4. ระบบสังคมและวัฒนธรรม (Social - Culture Systems) เป็นสิ่งที่มีส่วนกำหนดพฤติกรรมของประชาชนในชาตินั้น ซึ่งเกี่ยวข้องไปถึงขนบธรรมเนียมประเพณีที่ยึดถือปฏิบัติ สังคมและวัฒนธรรมในแต่ละชาติย่อมมีความแตกต่างกันไป เช่น การให้ความเคารพต่อผู้อาวุโส หรือวัฒนธรรมการกินอยู่ต่าง ๆ กฎ ข้อบังคับทางศาสนาของแต่ละศาสนาด้วย

  36. รูปแบบการจัดที่นั่ง การเริ่มต้นสนทนา 1. การต้อนรับ (Greeting) แบบกันเอง 2. แนะนำตนเองสั้น ๆ และสนทนาเพื่อทักทาย (Small Talk)เพื่อสร้างสัมพันธภาพ เช่น การเดินทาง ดินฟ้าอากาศ การคุยแบบไม่เป็นทางการ 3. การจัดที่นั่งสนทนา 4. ผู้สนทนาใช้ทั้งคำพูดและภาษากายเปิดเผย จริงใจ

  37. การเริ่มต้นสนทนา (ต่อ) 5. การสบตา (eye contact) การแสดงสีหน้าที่สอดคล้องกับเรื่องราวของเขา แสดงความจริงใจ ให้กำลังใจผู้เล่าเรื่อง 6. การสนทนาใช้ทั้งภาษากาย น้ำเสียง การแต่งกาย

  38. การสื่อสาร 2 ทาง • การสื่อสาร 2 ทาง • การแลกเปลี่ยนข้อมูล • การปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน • การเรียนรู้ • ความเข้าใจ • การแสดงออกผ่าน • พฤติกรรมที่พึงประสงค์

  39. แบบจำลองการสื่อสาร Melvin De Fleur

More Related