1 / 45

มุมมองความพร้อมด้านวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อก้าวสู่ AEC

มุมมองความพร้อมด้านวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อก้าวสู่ AEC. National STI Competitiveness. Research Partnerships. นาง พันธ์ทิพ อึ้ง ผาสุข ประธานคณะกรรมการเทคโนโลยี กลุ ่ ม ปตท. February 2013. Agenda. AEC และยุทธศาสตร์ไทย STI ( S cience T echnology and I nnovation)

lyle
Télécharger la présentation

มุมมองความพร้อมด้านวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อก้าวสู่ AEC

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. มุมมองความพร้อมด้านวิจัยทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อก้าวสู่ AEC National STI Competitiveness Research Partnerships นางพันธ์ทิพ อึ้งผาสุข ประธานคณะกรรมการเทคโนโลยีกลุ่ม ปตท. February 2013

  2. Agenda • AEC และยุทธศาสตร์ไทย • STI (Science Technology and Innovation) • “วิจัย และนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” • ความพร้อม STI ของไทย • มุมมอง การวิเคราะห์ และตัวอย่าง (Gap Analysis)

  3. Agenda • AEC และยุทธศาสตร์ไทย • STI (Science Technology and Innovation) • “วิจัย และนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” • ความพร้อม STI ของไทย • มุมมอง การวิเคราะห์ และตัวอย่าง (Gap Analysis)

  4. ASEAN Economic Communityการรวมตัวประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน AEC Overview – Key Characteristics Deepening and broaden economic integration in ASEAN from 2015 • Competition policy • Consumer protection • Intellectual property rights • Infrastructure development • Taxation & E-commerce Single market and production base Competitive economic region • Free flow of goods • Free flow of services • Free flow of investment • Free flow of capital • Free flow of skilled labour • Coherent approach towards external economic relations • Enhanced participation in global supply networks • SME development • Initiative for ASEAN Integration Region of equitable economic development Region fully integrated into the global economy

  5. ภาพรวมยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนประเทศภาพรวมยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนประเทศ 6 ยุทธศาสตร์การพัฒนา ตามแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรมและมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง 4 ยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนประเทศรองรับการเข้าสู่ AEC ประเทศมีขีดความสามารถในการแข่งขัน คนไทยอยู่ดีกินดี มีความเสมอภาคและเป็นธรรม 1. การสร้างความเป็นธรรมในสังคม 1 2.การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน 3. ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน 4. การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน 4 5. การสร้างความเชื่อมโยงในภูมิภาคเพื่อความมั่นคง ทางเศรษฐกิจและสังคม 6. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 2 3

  6. ASEAN Economic Communityหลากหลายมุมมอง AEC และ ยุทธศาสตร์ไทย • AEC as the first partner and single investment base • AECas a single market and production base “36 กลุ่มอุตสาหกรรมจัดอยู่ในประเภทป่วย” สศอ. “ความสำเร็จในการลงทุนต่างประเทศนั้น ขึ้นอยู่กับความพร้อมทางด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมของประเทศไทย” รศ.ดร.ชโยดม สรรพศรี การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือไปยังประเทศที่มีค่าแรงสูงกว่า ผู้ประกอบการไทยยังขาดฐานทางเทคโนโลยี ทำให้โครงการลงทุนในไทยไม่ได้รับความสนใจจากต่างชาติ “AEC ก้าวแรกต้อง..ปฏิรูปการศึกษาไทย” สมเกียรติ อ่อนวิมล “แนะเอกชนใช้นวัตกรรมสร้างความแตกต่าง มูลค่าเพิ่ม” ม. หอการค้าฯ Megatrend opens up investment opportunities “ไทยต้องสร้างแนวทางในการใช้เทคโนโลยี เพื่อการผลิตในรูปแบบของตัวเอง” ศูนย์วิจัยกสิกรฯ FP7,crucial in promoting scientific excellence to boost growth in the EU. FP7: the Seventh Framework Programme of the European Community for research, technological development and demonstration activities (2007-13) Source: http://www.thai-aec.com

  7. Agenda • AEC และยุทธศาสตร์ไทย • STI (Science Technology and Innovation) • “วิจัย และนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” • ความพร้อม STI ของไทย • มุมมอง การวิเคราะห์ และตัวอย่าง (Gap Analysis) STI (วทน): วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม

  8. INNOVATION CAPACITY vsNational competitiveness: พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เป็นปัจจัยหลักในการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันและมี ความสำคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ 2001 Current Competitiveness Index 2000 GDP per Capita Innovation Capacity Index Innovation Capacity Index R2 = 0.90 R2 = 0.83 Innovative capacity grows in parallel with overall competitiveness to produce a rising standard of living. Source: MICHAEL E. PORTER National Innovative Capacity, Harvard Business School and Director, Institute for Strategy and Competitiveness) http://www.isc.hbs.edu/Innov_9211.pdf

  9. MEGATRENDS Driving through emerging technologies การสร้างวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นปัจจัยสร้างความแข็งแกร่งของเศรษฐกิจในอนาคต Business opportunities / strength Megatrends Emerging technologies National Competitiveness Only leading edge research community, who have the Scientific strength will be successful. Employing Scienceto create innovation sales

  10. การขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานความรู้ของประเทศสิงค์โปร์Singapore Petrochemical Industry จากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สู่เศรษฐกิจฐานความรู้ • The third largest refining hub in the world despite having no natural resources of its own! Three main Singapore's petrochemical competitiveness • 1. economies of scale 2. strong financial 3. modern technology Singapore offers a full range of chemical industry services. • The largest petrochemical producer in ASEAN. Human resource development Cluster Development: A Case of Singapore’s Petrochemical Industry (Australian National University) http://www.crawford.anu.edu.au/degrees/pogo/discussion_papers/PDP05-18.pdf

  11. มุมมองการใช้ STI เพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ Innovation-driven economy • การเกิดขึ้นของเศรษฐกิจและธุรกิจใหม่ที่ใช้ความรู้เทคโนโลยีเป็นรากฐาน • การมีเทคโนโลยีระดับก้าวหน้าสำหรับการผลิตและบริการ • ความสามารถด้านนวัตกรรมของบริษัท • ผลิตภาพของธุรกิจ Production and service • STI เป็นหนึ่งในทรัพยากรของประเทศที่เป็นรากฐานของธุรกิจและคุณภาพชีวิต Resource and knowledge

  12. ศักยภาพฐานความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของASEAN เมื่อเปรียบเทียบกับ EU % of EU เมื่อเปรียบเทียบกับ EU กลุ่มอาเซียนมีศักยภาพด้าน “เทคโนโลยีนาโน” สูงที่สุด ASEAN Research Output Relative to EU Publications Citations Source: SEA-EU-NET, Spotlight on: Science and Technology Cooperation Between Southeast Asia and Europe

  13. ความร่วมมือด้าน STIภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ASEAN Visions Emerging themes of STI Collaboration in AEC* Life Sci Green Food Energy Water Communication *Source: Krabi Initiativein 2010 as endorsed by ASEAN S&T ministers as a policyframework for STI cooperation Strategic Areas of STI for Thailand ?? STI Solutions we offer to ASEANand global community.

  14. ศักยภาพฐานความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทยศักยภาพฐานความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย เทคโนโลยี 5 กลุ่มของไทยที่มีศักยภาพ อาหาร สุขภาพ เกษตร Life Science เทคโนโลยีชีวภาพ Health, • Thailand leads in publications, but has near half the citations of Singapore. Number of publications R&D Strength Food, Agriculture, and Biotechnology, • The highest number of publications in the ASEAN region is in the area of health. • Thailand and Singapore are close in publication and citation volume. Singapore Thailand Number of publications Source: Elsevier’s Scopus database; SEA-EU-NET, Spotlight on: Science and Technology Cooperation Between Southeast Asia and Europe Source: WIPO Statistics Database (2008)

  15. Agenda • AEC และยุทธศาสตร์ไทย • STI (Science Technology and Innovation) • “วิจัย และนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” • ความพร้อม STI ของไทย • มุมมอง การวิเคราะห์ และตัวอย่าง (Gap Analysis)

  16. THE REVIEW OF CURRENT STATUS: Global Competitiveness Index (WEF, 2012) Global Competitiveness Index Score TOP LOSERS Singapore • นวัตกรรม • ความพร้อมด้านเทคโนโลยี • การศึกษาและฝึกอบรม Thailand Efficiency-driven economies Source: Global Competitiveness Index, World Economic Forum (2012) Efficiency-driven economiesbegin to develop more efficient production processesand increase product quality because wages have risenand they cannot increase prices.

  17. ความพร้อม STI ของไทย:ประเทศไทยขาดปัจจัยพื้นฐานในการขับเคลื่อน STI 1. บุคคลากรด้าน R&D Innovation and National competitiveness 3. ความร่วมมือระหว่าง ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ และภาครัฐ 2. โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวย

  18. 1. บุคคลากรด้าน R&D Human Resource in R&D (per million people) 1.1 จำนวนบุคคลากรด้านวิจัยพัฒนาไม่เพียงพอ Percent Rank Quality of scientific research institutions Tertiary Education Human Capital Source: Global innovation index 2012 (Insead) Global innovation Index(Insead, 2012) 1.2 ความเชี่ยวชาญของบุคลากรด้านR&D ไม่ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรม

  19. 1. บุคคลากรด้าน R&D สัดส่วนนักวิจัย ภาครัฐและภาคเอกชน 1.3 บุคลากรด้าน R&D ของประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ในภาครัฐและภาคการศึกษา Source: IMD, WCY (2009)

  20. 2. โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวย World Competitiveness Yearbook “จุดอ่อนด้านกฏระเบียบและปัจจัยเอื้อ” การดึงดูดนักวิจัยและนักวิทยาศาสตร์ กฎระเบียบด้านการวิจัยที่เอื้อต่อการสร้างนวัตกรรม การคุ้มครอง IP การถ่ายทอดความรู้ Percent Rank Source: World Competitiveness Yearbook 2009 (IMD) *

  21. 2. โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวยหลากหลายช่องทางสำหรับการการถ่ายทอดเทคโนโลยี: จุดอ่อนด้านการรับเทคโนโลยีระดับบริษัทการลงทุนด้าน R&D จากต่างชาติ การฝึกอบรมเฉพาะทาง การเผยแพร่ความรู้ S&T จากภาคการศึกษา Linkages Transferee Transferor Market channel Exporting / Importing capital goods FDI bring new Tech. & JV channel Licensing R&D financed by abroad Company Industry community Internal sourcing (R&D / Lab) Ranking* • License fees receipts2: 0.63 • license fees payments2: : 0.95 • FDI bring new tech1: 0.77 • High Tech Import2 : 0.89 • High Tech Export2: 0.9 • R&D financed by abroad 2: 0.41 • JV (No. deal/GDP)2: 0.68 Non- market channel Movement of personnel S&T Communication UI Collaboration Training Firm-level technology adsorption1 (0.47) • Extent of staff training1: 0.61 • Local availability of specialized training1: 0.48 • Brain drain-in1: 0.71 • S&T Literature2: 0.49 • UI collaboration1: 0.72 Ranking* *Global Ranking–Thailand rank reported in Global competitiveness index (WEF)1 or Global innovation index 2012 (Insead)2 Unit: (Percent rank) (out of 142 and 125, respectively)

  22. 3. ความร่วมมือระหว่าง ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ และภาครัฐขาดความร่วมมือฯ พัฒนาต่อยอดงานวิจัยสู่การผลิตเชิงพาณิชย์ Research Partnerships

  23. R&D ของภาคธุรกิจ: พร้อม? Global innovation Index(Insead, 2012) Percent Rank R&D performed by Business R&D financed by Business การทำ R&D ของภาคธุรกิจ Source: Global innovation index 2012 (Insead) R&D ของภาคธุรกิจไทยขาดความพร้อมเนื่องด้วยขาดปัจจัยพื้นฐานสามประการดังกล่าว

  24. Agenda • AEC และยุทธศาสตร์ไทย • STI (Science Technology and Innovation) • “วิจัย และนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” • ความพร้อม STI ของไทย • มุมมอง การวิเคราะห์ และตัวอย่าง (Gap Analysis)

  25. ตัวอย่างความร่วมมือฯ เชิงบูรณาการของมาเลเซีย (1/2)The Economic Transformation Program (ETP) The Economic Transformation Program (ETP) in 2010 ETP target for 2020 Target : • Lift Malaysia's Gross National Income (GNI) to US$523 billion by 2020 • Raise per capita income from US$6,700 to at least US$15,000 (Performance Management and Delivery Unit) National Key Economic Areas (NKEA) with131 Entry Point Projects (EPP). Economic activities that are categorized as NKEA will be prioritized in government planning and funds allocation. 25

  26. ตัวอย่างความร่วมมือฯ เชิงบูรณาการของมาเลเซีย (2/2)The Economic Transformation Program (ETP) The National Biotechnology Policy (NBP) in 2005 • Industrial Estate • Owned and developed by Malaysian Bio-XCellSdnBhd. • Located in Nusajaya(72.53 acre biotechnology park) • Surrounding by a network of 5 deep sea ports + 2 international airports Agency under MOSTI Owned by MOF “One stop service” Objective for executing the objectives of NBP Bio-Xcell • Aim to be Asia’ Biotech Hub (To be completed in 2012) • Healthcare biotech platform • Industrial biotech optimization • Focus on manufacturing & R&D Funding Support • Public & Private Sources (Govt agencies, local & foreign VC)/Grants • RM 1.52 billion approved at Dec’09 • RM 1.27 billion realized (84% utilized) BioNexusStatus is a recognition awarded through BiotechCorp to qualifying biotechnology companies, making them eligible for privileges contained within the BioNexus Bill of Guarantees. Incentives • Tax exemptions • Tax deductions Strictly Confidential 26

  27. การมองภาพเทคโนโลยีในอนาคตของประเทศร่วมกันการมองภาพเทคโนโลยีในอนาคตของประเทศร่วมกัน National Technology Foresight: จุดเริ่มการพัฒนาเทคโนโลยีพลังงานลมของเดนมาร์ก Danish Technology Foresight เดนมาร์กมีลมเหลือเฟือ ชาวเดนมาร์กให้ความสนใจพิเศษในเรื่องการหาพลังงานทดแทน ส่งผลให้รัฐบาลเดนมาร์กในช่วง 30 ปีที่ผ่านมา สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีด้านพลังงานลม “ควรพิจารณาว่ามีทรัพยากรด้านใด และควรเน้นความสำคัญเร่งด่วนที่เป็นประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ และเมื่อมีความเห็นพ้องกันทั้งประเทศแล้ว ก็จะทำให้การพัฒนาเทคโนโลยีเป็นไปอย่างต่อเนื่องและได้รับการสนับสนุนในวงกว้าง” Pedersen, TU Denmark 2012 Source: นวัตกรรมไทย : ประสบการณ์และมุมมองจากสหภาพยุโรปโดย คณะผู้แทนไทยประจำประชาคมยุโรป http://news.thaieurope.net/content/view/2388/40 Danish Technology Foresight 2015: http://www.foresight-network.eu/index.php?option=com_docman&task=doc_view&gid=5

  28. โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวย:มาตรการจูงใจการลงทุนด้าน R&D ไทยไม่สามารถแข่งขันกับต่างชาติ • ประเทศไทยไม่สามารถแข่งขันใน ASEAN ได้ในด้านเงินช่วย (Grants) เงินกู้หรือการร่วมลงทุนในงานวิจัยฯ มาตรการกระตุ้น R&D investment tax credit 200 % 30 % 150 % 200 % 100 % 100 % การยกเว้นภาษี สูงสุด 100 % 100 % เงินสนับสนุน: 9% ของภาษีพึงประเมิน สนับสนุนธุรกิจหน้าใหม่ (Start ups) ร่วมลงทุน 50% ร่วมลงทุน 40% เงินสนับสนุนแก่การลงทุนโดยตรงในวิจัยและนวัตกรรม > 9,000 ล้าน ยูโร + 38,000 ล้านยูโร สำหรับVenture Capital > 12,000 ล้าน ยูโร

  29. เปรียบเทียบการดึงดูดการลงทุนของประเทศไทยกับมาเลเซียเปรียบเทียบการดึงดูดการลงทุนของประเทศไทยกับมาเลเซีย 29

  30. โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวย:โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวย: ตัวอย่าง การขอคืนภาษี มูลค่าโครงการที่ได้รับการรับรองจาก สวทช. ระหว่างปีงบประมาณ 2545-2554 • ประเด็นปัญหาที่พบ: • งานวิจัยส่วนใหญ่ผู้รับจ้างวิจัยไม่ได้ขึ้นทะเบียนต่อกรมสรรพากร ต้องขอคืนภาษีเป็น Non-fast track ซึ่งมีกระบวนการมากและใช้ระยะเวลานาน ควรลดขั้นตอนสำหรับโครงการ non-fast track ลง • บางครั้งมูลค่าคืนภาษีที่ได้ไม่คุ้มค่าใช้จ่ายและเวลาที่ใช้ในกระบวนการขอคืนภาษี Source: NSTDA

  31. โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวยซ การดึงดูดนักวิจัยฯมาตรการจูงใจบุคลากรด้านวิจัยพัฒนาที่มีความชำนาญสูง • มาตรการจูงใจด้านภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาไม่สามารถแข่งขันได้ อัตราภาษีเงินพิเศษได้บุคคลธรรมดา* สำหรับนักวิจัยต่างชาติ (%) *รายได้ 2 ล้านบาทต่อปี

  32. โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวยภาพปัจจุบันของระบบคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวยภาพปัจจุบันของระบบคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ภาพปัจจุบันของระบบคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ความคาดหวังของเอกชน • ระบบจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาล่าช้าซับซ้อน และไม่สะดวก • การเร่งรัดการจดทะเบียนสิทธิบัตร เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถใช้ IP ที่ได้รับการปกป้องสำหรับการต่อยอดเชิงพาณิชย์ หรือเพื่อการเข้าถึงแหล่งทุนเช่น สินเชื่อเพื่อสนับสนุนในการนำ IP ไปเพื่อเชิงพาณิชย์ คนไทย 8,537 สิ่ง ประดิษฐ์ การ ออกแบบ ต่างชาติ 13,989 ในปี 2522 – 2554 มีสิทธิบัตรได้รับการจดทะเบียน 31,837 ฉบับ จากจำนวนยื่นขอสิทธิบัตร 158,596 ฉบับ ต่างชาติ 8,307 คนไทย 1,004

  33. โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวยขาดแรงจูงใจในความเป็นเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญาในประเทศโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวยขาดแรงจูงใจในความเป็นเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญาในประเทศ ความเป็นเจ้าของ IP: มหาวิทยาลัยเป็นเจ้าของแต่เอกชนต้องการใช้ ความคาดหวังของเอกชน ภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการ IP ของไทย • หน่วยงานให้ทุนวิจัยของไทยถือครองสิทธิความเป็นเจ้าของ IP ที่เกิดจากการให้ทุนและมีระเบียบในการจัดการ IP ของตนเอง • ยังไม่มีการใช้ประโยชน์ใน IP อย่างแท้จริง เนื่องจากติดปัญหาความเป็นเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา (IP Ownership) • ความเป็นเจ้าของ IPตกเป็นของเอกชนทั้งหมด • กฎหมายที่เกี่ยวข้องในลักษณะเดียวกับกฎหมาย Bayh Dole Act (US) • แนวทางการแบ่งปันผลประโยชน์ที่เป็นธรรม เป็นเอกภพและจูงใจแก่ภาคเอกชนในการเข้ามาร่วมลงทุน R&D ร่วมกับภาครัฐ

  34. โครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวยตัวอย่างมาตรการส่งเสริมการสร้างและการใช้ประโยชน์ IP เชิงพาณิชย์ของ US การให้ Ownership ในทรัพย์สินทางปัญญาจากงานวิจัยแก่ภาคเอกชนและมหาวิทยาลัยซึ่งรัฐลงทุนให้ Government Funding Agency • IP Ownership เป็นของผู้รับทุน • IP Management ผู้รับทุนบริหารจัดการเอง • มีการจัดสรรผลประโยชน์จากการใช้สิทธิบัตรในเชิงพาณิชย์ให้แก่ผู้ประดิษฐ์ โดยส่วนที่เหลือจัดสรรให้มีการนำไปใช้เพื่อการวิจัยวิทยาศาสตร์และเพื่อการศึกษา • สิทธิของรัฐที่จะแทรกแซงหากไม่มีการนำงานวิจัยไปใช้ March‐in‐right Tax $$$ Stimulate economic development University / Non-profit org./SMEs Bayh-Dole Act (US) R&D IP Commercialization Source: สวทน

  35. การกระตุ้นตลาดสินค้านวัตกรรมโดยกลไกลด้านนโยบายและกฎระเบียบการกระตุ้นตลาดสินค้านวัตกรรมโดยกลไกลด้านนโยบายและกฎระเบียบ การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในการรองรับผลิตภัณฑ์นวัตกรรมภาคเอกชน สร้างตัวขับเคลื่อนด้านกฎระเบียบเพื่อกระตุ้นตลาดสินค้านวัตกรรม มาตรฐานสินค้านวัตกรรม Mandates help Taiwan PLA processors “รัฐบาลของไต้หวันตัดสินใจในเบื้องต้นที่กำหนดให้ร้านค้าปลีกและร้านอาหารใช้บรรจุภัณฑ์พลาสติกที่เป็นพลาสติกชีวภาพ” "It's interesting that the most cost-competitive convertors of PLA in the world are all Taiwanese." ฟินแลนด์ใช้การจัดซื้อจัดจ้างในอุตสาหกรรมโทรคมนาคมในช่วงปลายทศวรรษที่ 1970 ทำให้เกิดบริษัท Nokia ซึ่งเป็นผู้ผลิตโทรศัพท์มือถือรายใหญ่ Electric vehicles Mark Verbruggen, president and CEO of Minnetonka, Minn.-based NatureWorks LLC

  36. มุมมองปัญหาและตัวชี้วัดสำคัญที่ต้องเร่งพัฒนามุมมองปัญหาและตัวชี้วัดสำคัญที่ต้องเร่งพัฒนา สรุปประเด็นปัญหา Key Performance Indicators • ส่วนที่หนึ่ง • “ภาคการผลิต S&T(Private or public R&D)” • “ความไม่พร้อมของทรัพยาการ” ที่ใช้ในการผลิต S&T • บุคลากร • เงินลงทุน • ความรู้ด้านการบริหารจัดการฯ • “โครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง” • การศึกษาและวัฒนธรรม STI • ระบบการคุ้มครอง IP และแรงจูงใจในความเป็นเจ้าของ IP • กฏระเบียบเอื้อฯ มาตรการส่งเสริมฯ • การจัดหาเทคโนโลยีฐานและความเชี่ยวชาญใหม่ๆ • นโยบายระดับประเทศที่ชัดเจนในรายอุตสาหกรรม • โครงสร้างพื้นฐานด้านทางการถ่ายทอดเทคโนโลยี • ตัวชี้วัดผลผลิต S&T • อัตราส่วนค่าใช้จ่ายด้าน R&D ต่อ GDP • จำนวนนักวิจัย (Headcount / mn pop) • การจ้างงานในภาคธุรกิจที่ใช้ความรู้หลัก • การมีเทคโนโลยีระดับก้าวหน้าสำหรับการผลิต • ตัวชี้วัดด้านโครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวข้อง • คุณภาพและจำนวนอาชีวะและอุดมศึกษาด้าน S&T • ประสิทธิภาพของระบบ IP • คุณภาพและความพร้อมทางเทคโนโลยีใหม่ของสถาบันวิจัยฯ • การลงทุน R&D ทั้งในและจากต่างประเทศ • การมีแหล่ง specialized training และ oversea talent ในประเทศ • จำนวนความร่วมมือวิจัยภาครัฐ/อุตสาหกรรมที่ประสบความสำเร็จ

  37. มุมมองปัญหาและตัวชี้วัดสำคัญที่ต้องเร่งพัฒนามุมมองปัญหาและตัวชี้วัดสำคัญที่ต้องเร่งพัฒนา สรุปประเด็นปัญหา Key Performance Indicators • ส่วนที่สอง • “การนำผลผลิต S&T ไปต่อยอดสู่ commercialization” • ศักยภาพของภาคธุรกิจ • ขาดแคลนเงินทุนและคนใน”การทำวิจัยภาคอุตสาหกรรม”(Industry-oriented R&D or Translational Research) • “การบริหารจัดการนวัตกรรม” ทักษะในการสร้าง Business model / Entrepreneurship และทำตลาดสินค้านวัตกรรมใหม่ที่ยังไม่มีตลาด • การสนับสนุนการสร้างนวัตกรรมจากภาครัฐยังไม่เพียงพอ • เช่น Business Incubator, Professional consulting services, Financial support, การสร้างวัฒนธรรมนวัตกรรม • ตัวชี้วัดการต่อยอด S&T ของภาคเอกชน • Technology adsorption(Firm-level) • R&D performed by business (Translational research) • Local availability of engineering service • Innovation Sales to company R&D spending ratio • Industry funding received • ตัวชี้วัดเชิงธุรกิจและเศรษฐกิจ • ผลิตภาพของธุรกิจ • ความสามารถด้านนวัตกรรมของบริษัท (Innovation capacity) • การเกิดขึ้นของธุรกิจใหม่ • จำนวนการจดทะเบียน trademark ของผลิตภัณฑ์ใหม่ในประเทศ

  38. สรุปข้อเสนอแนะ • ด้านความร่วมมือระหว่าง ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ และภาครัฐ • ข้อเสนอ 1: สร้างกลไกความร่วมมือและประสานงาน • ข้อเสนอ 2: ความร่วมมือฯ เพื่อเพิ่มศักยภาพการทำวิจัยภาคอุตสาหกรรม • ข้อเสนอ 3: ร่วมกำหนดเป้าหมายเชิงเทคโนโลยีของประเทศในอนาคต ด้านโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวย • ข้อเสนอ 4: พัฒนากฏระเบียบเพื่อส่งเสริมการพัฒนา วทน. • 4.1 การส่งเสริมการลงทุนด้าน R&D • 4.2 การบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาของประเทศ • 4.3 ด้านการกระตุ้นตลาดสินค้านวัตกรรม • ด้านบุคคลากรด้าน R&D • ข้อเสนอ 5: เพิ่มจำนวนและศักยภาพบุคคลากรด้าน R&D สำหรับอุตสาหกรรม • 5.1 การแลกเปลี่ยนคนระหว่างกัน • 5.2 การฝึกอบรมเฉพาะด้านเทคโนโลยีฯ

  39. ด้านความร่วมมือระหว่าง ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ และภาครัฐข้อเสนอ 1: สร้างกลไกความร่วมมือและประสานงาน “สร้างกลไกความร่วมมือและประสานงานอย่างใกล้ชิด” ระหว่างภาควิชาการ ภาคธุรกิจ และภาครัฐเพื่อให้มีความชัดเจนและต่อยอดผลงานกันอย่างต่อเนื่อง “ร่วมกำหนด demand-side and supply-side policies” ภาครัฐร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับภาคเอกชนในการกำหนดยุทธศาสตร์ด้าน STI, การศึกษา, ระเบียบและมาตรฐาน ฝ่ายขับเคลื่อนให้มีการค้นคว้าและพัฒนาคือ “ภาคธุรกิจร่วมมือกับกับภาควิชาการอย่างใกล้ชิด” “ผลิตทรัพยากร S&T สนองความต้องการภาคธุรกิจ” เช่น งานวิจัยฯ, Knowledge, Human Capital

  40. ด้านความร่วมมือระหว่าง ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ และภาครัฐข้อเสนอ 2: ความร่วมมือฯ เพื่อเพิ่มศักยภาพการทำวิจัยภาคอุตสาหกรรม 2.1 ร่วมกับภาคการศึกษา / ภาครัฐสร้างเครือข่ายด้านวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีสู่การผลิตเชิงพาณิชย์(Translational Research) 2.2 ภาครัฐสนับสนุนทางการเงินในรูปแบบเงินอุดหนุนหรือสมทบแบบให้เปล่า(มุ่งเน้นแก่ SMEs) โดยทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดขึ้นเป็นของผู้รับทุน 2.3 การจัดหานักวิจัยและวิศวกรที่เชี่ยวชาญจากต่างประเทศมาเข้าร่วมฯ PILOT PLANT “การลงทุนสูง ความเสี่ยงสูง” ขาดความเชี่ยวชาญ • Key performance indicators • Industry funding received • Industry R&D spending in Thailand • จำนวนโรงงานต้นแบบหรือ Translational Research • จำนวนนักวิจัยแลกเปลี่ยนจากภาคการศึกษา/รัฐสู่อุตสาหกรรม • ผลที่คาดว่าจะได้รับ • Platform technology ตามความต้องการของอุตสาหกรรมนำร่อง ที่ช่วยเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน • การลดการพึ่งพาเทคโนโลยีสำเร็จรูปสำหรับการผลิตจากต่างประเทศ (Technology Package)

  41. ด้านความร่วมมือระหว่าง ภาควิชาการ ภาคธุรกิจ และภาครัฐข้อเสนอ 3: ร่วมกำหนดเป้าหมายเชิงเทคโนโลยีของประเทศในอนาคต 3.1 สนับสนุนให้มีการทำTechnology Foresight ระดับประเทศทุกๆ 5 ปี โดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนอย่างแท้จริง 3.2 ใช้ผลลัพธ์จากการทำ Technology Foresight ระดับประเทศในการร่างนโยบายระดับประเทศและระดับรายอุตสาหกรรม 3.3 สนับสนุนด้านความรู้ในการทำ Technology Foresight ระดับ sectorย่อยและระดับองค์กร Technology Foresightระดับประเทศ เพื่อเป็นเครื่องมือในการมองภาพเทคโนโลยีและกำหนดอนาคต S&T ของประเทศไทยร่วมกัน Source: นวัตกรรมไทย : ประสบการณ์และมุมมองจากสหภาพยุโรปโดย คณะผู้แทนไทยประจำประชาคมยุโรป http://news.thaieurope.net/content/view/2388/40 Danish Technology Foresight 2015: http://www.foresight-network.eu/index.php?option=com_docman&task=doc_view&gid=5

  42. ด้านโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวยข้อเสนอ 4: พัฒนากฏระเบียบเพื่อส่งเสริมการพัฒนา วทน. • 4.1 การส่งเสริมการลงทุนด้าน R&D 4.1.1 พัฒนาเชิงระบบสำหรับสิทธิประโยชน์ทางภาษีเพื่อการลงทุนการวิจัยและพัฒนาทั้งในและต่างประเทศ เช่น การแก้ปัญหาเชิงระบบในการยื่นเรื่องฯ ที่ใช้ระยะเวลานาน ยุ่งยากและซับซ้อน 4.1.2 การสนับสนุนทางการเงินในรูปเงินให้เปล่า ซึ่งอาจสนับสนุนด้านการเงินในลักษณะของเงินร่วมลงทุนแก่บริษัทเกิดใหม่ในช่วงแรกของการดำเนินการ

  43. ด้านโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวยข้อเสนอ 4: พัฒนากฏระเบียบเพื่อส่งเสริมการพัฒนา วทน. • 4.2 การบริหารจัดการทรัพย์สินทางปัญญาของประเทศ 4.2.1 ส่งเสริมให้กรมทรัพย์สินทางปัญญาเป็นองค์กรของรัฐที่มีอิสระในการกำหนดอัตรากำลังและค่าตอบแทน 4.2.2 การคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาของคนไทย โดยการพัฒนาระบบจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาให้รวดเร็วขึ้น 4.2.3 หน่วยงานให้ทุนของรัฐควรออกกฎเกณฑ์ให้ทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดจากการรับทุนเป็นของผู้รับทุนคล้าย Bayh-Dole Act ของสหรัฐฯ

  44. ด้านโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้ออำนวยข้อเสนอ 4: พัฒนากฏระเบียบเพื่อส่งเสริมการพัฒนา วทน. • 4.3 ด้านการกระตุ้นตลาดสินค้านวัตกรรม • 4.3.1 การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐในการรองรับผลิตภัณฑ์นวัตกรรมภาคเอกชน • 4.3.2 สร้างตัวขับเคลื่อนด้านกฎระเบียบเพื่อกระตุ้นตลาดสินค้านวัตกรรม • 4.3.3 สร้างมาตรฐานสินค้านวัตกรรม

  45. ด้านบุคคลากรด้าน R&Dข้อเสนอ 5: เพิ่มจำนวนและศักยภาพบุคคลากรด้าน R&D สำหรับอุตสาหกรรม • 5.1 แก้อุปสรรคและเพิ่มแรงจูงใจในการแลกเปลี่ยนคนระหว่างภาครัฐและเอกชน ทั้งภายในและระหว่างประเทศ 5.1.1 เปลี่ยนการวัด KPI ของอาจารย์มหาวิทยาลัย จากนับจากผลงานตีพิมพ์ทางวิชาการเป็นตัวชี้วัดด้านการนำ S&T ไปใช้เชิงพาณิชย์ เช่น จำนวน License ต่อโครงการวิจัย จำนวนผลิตภัณฑ์ต้นแบบต่อโครงการวิจัย 5.1.2 การส่งเสริมนักวิจัยจากภาครัฐและภาคการศึกษาไปปฎิบัติงานเต็มเวลาในภาคอุตสาหกรรม 5.1.3 แรงจูงใจอื่นๆ เช่น อัตราภาษีเงินได้ส่วนบุคคลของนักวิจัยต่างชาติ • 5.2 จัดหาการฝึกอบรมขั้นสูงสำหรับเทคโนโลยีเฉพาะด้าน ที่ตรงกับความต้องการของการทำ R&D ภาคอุตสาหกรรม

More Related