1 / 38

แผนการดำเนินงานที่สำคัญประจำปี 2556

แผนการดำเนินงานที่สำคัญประจำปี 2556. กองแผนงาน Planning Division โดย นาย เชาว ฤทธิ์ บุญมาทิต ผู้อำนวยการกองแผนงาน. ภารกิจหลักที่ต้องดำเนินการในปี 2556. - การบริหารงบประมาณปี 2556 - ระบบการติดตามผลการดำเนินงานและรายงานผลด้วยระบบ e-operation

rainer
Télécharger la présentation

แผนการดำเนินงานที่สำคัญประจำปี 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนการดำเนินงานที่สำคัญประจำปี 2556 กองแผนงาน Planning Division โดย นายเชาวฤทธิ์ บุญมาทิต ผู้อำนวยการกองแผนงาน

  2. ภารกิจหลักที่ต้องดำเนินการในปี 2556 - การบริหารงบประมาณปี 2556 - ระบบการติดตามผลการดำเนินงานและรายงานผลด้วยระบบ e-operation - การดำเนินการจัดทำยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ พ.ศ. และยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์ไปสู่การปฏิบัติ

  3. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณรายจ่ายประจำปี งบประมาณพ.ศ. 2556

  4. สรุปงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 จำแนกตามงบรายจ่าย

  5. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 จำแนกตามแผนงาน 1. แผนงานแก้ไขปัญหาและพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้ งบประมาณ 110,496,000 บาท 2. แผนงานฟื้นฟูความสัมพันธ์และพัฒนาความร่วมมือ กับประเทศในภูมิภาค งบประมาณ 147,711,400 บาท 3. แผนงานส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่า ภาคการเกษตร งบประมาณ 5,146,789,400 บาท

  6. โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ วัตถุประสงค์ : เพื่อให้เกษตรกรในพื้นที่ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้รับการพัฒนาศักยภาพ ในการประกอบอาชีพปศุสัตว์ สามารถเพิ่มมูลค่าผลผลิตปศุสัตว์ทำให้มี รายได้เพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ : จำนวนครัวเรือนตามผลประชาคมที่เลือกอาชีพปศุสัตว์ 18,000 ราย เชิงคุณภาพ : เกษตรกรที่ได้รับบริการสามารถประกอบอาชีพได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

  7. โครงการรองรับผลกระทบจากการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนด้านปศุสัตว์โครงการรองรับผลกระทบจากการเข้าสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนด้านปศุสัตว์ วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อพัฒนาและสร้างความเข้มแข็งของด่านกักสัตว์ระหว่างประเทศ ในการตรวจสอบสินค้าปศุสัตว์นำเข้า ประเทศไทย ป้องกันไม่ให้มีการนำสินค้าปศุสัตว์ที่ไม่มีคุณภาพมาสร้างปัญหาให้กับเกษตรกรของประเทศไทย รวมถึงการลักลอบนำเข้าสินค้าปศุสัตว์ที่ไม่มีคุณภาพ 2. เพื่อพัฒนาและตรวจสอบสินค้าปศุสัตว์ส่งออกของประเทศ ให้มีคุณภาพมาตรฐานเทียบเท่าระดับสากล ก่อให้เกิดและสร้างความเชื่อมั่นให้กับประเทศคู่ค้า สร้างชื่อเสียงให้กับประเทศไทย ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ : จำนวนตัวอย่างที่ได้รับการตรวจวิเคราะห์ 22,600 ตัวอย่าง เชิงคุณภาพ : ร้อยละ 90 ของตัวอย่างที่เก็บมีคุณภาพ

  8. ผลผลิตที่ 1 : การพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ งบประมาณ1,336,661,500 บาท วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อให้ได้สัตว์พันธุ์ดี พืชอาหารสัตว์พันธุ์ดี และอาหารสัตว์คุณภาพดี ที่เหมาะสมให้กับเกษตรกร 2. เพื่อเพิ่มมูลค่าผลผลิตปศุสัตว์ และเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกร ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ : จำนวนสัตว์พันธุ์ดีที่ผลิตได้ 2.1600 ล้านตัว เชิงคุณภาพ: สัตว์พันธุ์ดีที่ผลิตได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 75

  9. ผลผลิตที่ 1 : การพัฒนาการผลิตปศุสัตว์ (ต่อ)

  10. ผลผลิตที่ 2 : การพัฒนาสุขภาพสัตว์ วัตถุประสงค์ : 1. สัตว์มีสุขภาพดี ปลอดโรค ลดปัญหาโรคสัตว์และโรคติดต่อระหว่าง สัตว์และคน 2. ห้องปฏิบัติการมีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน (ISO/IEC 17025) ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ : จำนวนสัตว์ที่ได้รับบริการพัฒนาสุขภาพสัตว์ 26.90 ล้านตัว เชิงคุณภาพ: การเกิดโรคลดลงจากปีที่ผ่านมาไม่น้อยกว่าร้อยละ 5

  11. ผลผลิตที่ 2 : การพัฒนาสุขภาพสัตว์(ต่อ)

  12. ผลผลิตที่ 3 : สินค้าเกษตรมีคุณภาพได้มาตรฐาน วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อให้สินค้าปศุสัตว์มีคุณภาพปลอดภัยได้มาตรฐานเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม 2. เพื่อเพิ่มศักยภาพแข่งขันการส่งออกและเป็นที่ยอมรับของประเทศคู่ค้า ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ : จำนวนผู้ประกอบการสินค้าปศุสัตว์ที่ได้รับบริการ 40,120 ราย เชิงคุณภาพ : ผู้ประกอบการสินค้าปศุสัตว์ที่ได้รับบริการตามเกณฑ์มาตรฐาน ที่กำหนดไม่น้อยกว่าร้อยละ 100

  13. ผลผลิตที่ 3 : สินค้าเกษตรมีคุณภาพได้มาตรฐาน (ต่อ)

  14. ผลผลิตที่ 4 : เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยีแก่เกษตรกรสมาชิกกลุ่มผู้เลี้ยงสัตว์ 2. เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ด้านการเลี้ยงสัตว์ที่เหมาะสม และถูกต้อง 3. เพื่อมีรายได้เสริมจากการเลี้ยงสัตว์ และมีอาหารโปรตีนไว้บริโภค ในครัวเรือน ตัวชี้วัด เชิงปริมาณ :จำนวนเกษตรกรที่ได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ 76,354 ราย เชิงคุณภาพ :ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อกระบวนการให้บริการ ของหน่วยงานกรมปศุสัตว์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70

  15. ผลผลิตที่ 4 : เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ (ต่อ)

  16. ผลผลิตที่ 4 : เกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ (ต่อ)

  17. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ปริมาณและมูลค่าการส่งออกสินค้าปศุสัตว์ไม่น้อยกว่า 500,000 ตัน มูลค่า 70,000 ล้านบาท 2. สินค้าปศุสัตว์และกระบวนการผลิตมีคุณภาพได้มาตรฐาน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและเพียงพอต่อความต้องการของตลาด 3. การพัฒนาผลิตสัตว์พันธุ์ดี พืชอาหารสัตว์พันธุ์ดี และอาหารสัตว์ คุณภาพดีให้กับเกษตรกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุน และเพิ่มรายได้ 4. สัตว์มีสุขภาพดี ปลอดโรค ลดปัญหาโรคสัตว์ และโรคติดต่อ ระหว่างสัตว์และคน

  18. ความก้าวหน้าการพัฒนา ระบบบริหารการปฏิบัติงาน ( e - Operation)

  19. ความก้าวหน้า การพัฒนาระบบบริหารการปฏิบัติงาน ( e – Operation )

  20. แนวทางการดำเนินงานในช่วงที่อยู่ระหว่างการพัฒนาระบบฯ 1. เป้าหมายการดำเนินงาน ให้พิจารณาจากคู่มือของหน่วยงานเจ้าภาพหลัก ไปพลางก่อนและเมื่อระบบฯเสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้ยึดถือเป้าหมายในระบบฯ 2. การรายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือน ตุลาคม – พฤศจิกายน 2555 ขอให้รายงานตามแบบฟอร์มที่กำหนด ( Excel ) (ไม่เกิน15 ตค 55 รอหารือ กอง/สำนัก)โดยขอให้หน่วยงานตัดตัวเลขผลการปฏิบัติงานทุกวันที่ 25 ของเดือน และจัดส่งให้กองแผนงาน ภายในวันที่ 1 ของเดือนถัดไป 3. คาดว่าระบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ( e – Operation ) จะสามารถ รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำเดือน ธันวาคม 2555 เป็นต้นไป (จะพยายามเร่งดำเนินการให้เสร็จโดยเร็ว)

  21. การสรุปรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปี 2555 1. ให้ทุกหน่วยปฏิบัติ รายงานผลการปฏิบัติงานสะสมตั้งแต่เดือนตุลาคม 2554ถึง กันยายน 2555 ให้กับ หน่วยงานเจ้าภาพหลัก ( กอง / สำนัก ) โดยให้ ตัดตัวเลขในวันที่ 25 กันยายน 2555 และจัดส่งให้ กอง / สำนัก ภายในวันที่ 30 กันยายน 2555 2. ให้หน่วยงานเจ้าภาพหลัก ( กอง / สำนัก ) ตรวจสอบความถูกต้อง และสรุปผลการปฏิบัติงานและจัดส่งให้ กองแผนงาน ภายในวันที่ 2 ตุลาคม 2555

  22. (ร่าง) วิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ 2555-2559 “เป็นองค์กรชั้นนำพัฒนาการปศุสัตว์สู่อาเซียนและตลาดโลก”

  23. สรุปประเด็นเป้าประสงค์และตัวชี้วัดภายใต้วิสัยทัศน์ ประเด็นที่ 1 “การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านปศุสัตว์” เป้าประสงค์ 1. กำลังคนภาครัฐมีจำนวน/ขีดความสามารถเหมาะสมกับภารกิจ 2. กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง ยั่งยืนในอาชีพและแข่งขันได้ 3. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการ ตัวชี้วัด 1. บุคลากรได้รับการพัฒนา 2. กำหนดแผนอัตรากำลัง (HR Plan) 3. การผ่านการประเมินรับรองโดยกรมปศุสัตว์ของกลุ่มเกษตรกร 4. ความพึงพอใจของผู้รับบริการต่อกรมปศุสัตว์

  24. ประเด็นที่ 2 “การพัฒนาศักยภาพการผลิตปศุสัตว์ให้สอดคล้องกับความต้องการและกลไกการตลาด” เป้าประสงค์ 1. เพื่อการส่งออก : ภาคการผลิตปศุสัตว์มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการที่ สินค้าปศุสัตว์มีมูลค่าเพิ่มขึ้นและสามารถตอบสนองความต้องการ กลไกการตลาดได้เป็นอย่างดี 2. เศรษฐกิจพอเพียง : เกษตรกรได้รับการพัฒนาเสริมสร้างความ เข้มแข็งอย่างต่อเนื่องและทั่วถึง มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการประกอบ อาชีพด้านปศุสัตว์อย่างยั่งยืน ตัวชี้วัด 1. มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม GDP ภาคปศุสัตว์เพิ่มขึ้น 2. สร้างมูลค่าเพิ่ม Value Added ของปศุสัตว์ทั้งปริมาณและคุณภาพ

  25. ประเด็นที่ 3 “การพัฒนาการบริหารจัดการด้านปศุสัตว์” เป้าประสงค์ เพื่อให้ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับการบริการด้าน ปศุสัตว์ที่สะดวก รวดเร็วและเป็นธรรมอย่างทั่วถึงกระจายอำนาจ การพัฒนาการบริหารจัดการด้านปศุสัตว์อย่างบูรณาการ ตัวชี้วัด 1. ระดับความสำเร็จตามการดำเนินงาน ADLI หรือ PPCA 2. ความครบถ้วนสมบูรณ์ของระบบฐานข้อมูลด้านการปศุสัตว์ เพื่อตอบสนองผู้รับบริการ 3. ความสะดวกรวดเร็วในการใช้บริการ ลดขั้นตอนในการให้บริการ 4. ระดับการเข้ามามีส่วนร่วมของเครือข่ายการปศุสัตว์ 5. ความถึงพอใจของผู้รับบริการด้านปศุสัตว์

  26. ประเด็นที่ 4 “การส่งเสริมและสนับสนุนการตลาดสินค้าปศุสัตว์” เป้าประสงค์ 1. มูลค่าสินค้าปศุสัตว์ส่งออกเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด1.1 ขยายส่งออกโค (สินค้าระดับพรีเมี่ยมของไทย) กระบือ (มีผู้บริโภคมากขึ้น) สุกรใน AEC ที่มูลค่าเพิ่มขึ้น ร้อยละ 10 ต่อปี 1.2 ขยายการส่งออกเนื้อไก่ สุกร แปรรูปในตลาดโลกมากกว่า ร้อยละ 5 ต่อปี (เพิ่มปริมาณการบริโภค, การประกันราคา) 2. เพิ่มการบริโภคสินค้าปศุสัตว์ภายในประเทศ สร้างความเชื่อมั่น ตลาดสินค้าปศุสัตว์ในประเทศ ตัวชี้วัด 2.1 ให้เกษตรกรมีรายได้ที่มั่นคง โดยค่าเฉลี่ยมูลค่าทรัพย์สิน ด้านปศุสัตว์มากกว่าร้อยละ 5 ต่อปี

  27. ประเด็นที่ 5 “เป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยงการวิจัยและพัฒนา เทคโนโลยี นวัตกรรมและบริการด้านการปศุสัตว์” 1. เสริมสร้างการเป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงการวิจัย ฯลฯ 2. เป็นศูนย์กลางความร่วมมือการวิจัย พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และองค์ความรู้ด้านปศุสัตว์ 3. เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงการวิจัย พัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรมและ องค์ความรู้ด้านปศุสัตว์ เป้าประสงค์ กรมปศุสัตว์ได้รับการยอมรับว่าเป็นศูนย์กลางความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมด้านการปศุสัตว์ของประเทศ เพื่อสร้าง เครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตปศุสัตว์ ให้สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก

  28. กลยุทธ์ตัวชี้วัดที่ 1 1.1 การจัดตั้งศูนย์กลางองค์ความรู้ด้านปศุสัตว์ 1.2 สร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการกับหน่วยงานอื่น 1.3 รวบรวมจำแนกประเภทฐานข้อมูลงานวิจัย/วิชาการและความรู้ด้านปศุสัตว์ กลยุทธ์ตัวชี้วัดที่ 2 2.1 กำหนดทิศทางงานวิจัย/วิชาการให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาปศุสัตว์ 2.2 สนับสนุนและส่งเสริมการวิจัยครบวงจร 2.3 บูรณาการดำเนินงานวิจัยร่วมกับหน่วยงานอื่น 2.4 ส่งเสริมการนำผลงาน/วิชาการไปสู่การใช้ประโยชน์ กลยุทธ์ตัวชี้วัดที่ 3 3.1 ประชาสัมพันธ์ศูนย์กลางองค์ความรู้เทคโนโลยี นวัตกรรมด้านปศุสัตว์ ให้เป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย 3.2 การจัดระบบการให้บริการความรู้แบบเบ็ดเสร็จ 3.3 ติดตามประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ

  29. ทิศทางการดำเนินงานรายชนิดสัตว์ทิศทางการดำเนินงานรายชนิดสัตว์ เป็นองค์กรชั้นนำพัฒนาการปศุสัตว์สู่อาเซียนและตลาดโลก

  30. ยุทธศาสตร์ของกรมปศุสัตว์สอดคล้องนโยบายรัฐบาล, แผนพัฒนาประเทศ, ยุทธศาสตร์กระทรวงเกษตรฯ, ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคและนโยบายอธิบดี • มุ่งเน้นการทำงานแบบบูรณาการจากส่วนกลางสู่การปฏิบัติส่วนภูมิภาค • คณะกรรมการยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์บริหารจัดการภาพรวมของประเทศ/เขต • ปศุสัตว์เขต บริหารจัดการภาพรวมของจังหวัด • บรรลุวิสัยทัศน์ “การเป็นองค์กรชั้นนำพัฒนาการปศุสัตว์สู่อาเซียนและตลาดโลก”

  31. งบประมาณ รายชนิดสินค้า ปศุสัตว์ • ผลผลิต • ผลลัพธ์ พื้นที่ดำเนินการ เขต 1-9 บุคลากร คณะกรรมการยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์

  32. การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติการแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ • แผนการผลิตรายชนิดสัตว์ของประเทศ/เขต/จังหวัด 5 ปี • พื้นที่เป้าหมายการดำเนินงานเดียวกันในระดับเขต/จังหวัด • แผนงานโครงการ ด้านการผลิต/สุขภาพสัตว์/มาตรฐานปศุสัตว์และงานสนับสนุนแบบบูรณาการที่ชัดเจน ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำในแต่ละชนิดสัตว์ • การจัดสรรงบประมาณเพื่อดำเนินการ 2 มิติ ตอบสนองทั้งภารกิจและรายชนิดสัตว์ จากงบกรมปศุสัตว์/พัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด • การบริหารจัดการบุคลากรตามปริมาณงานและความชำนาญเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในรายชนิดสัตว์ • การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ด้วยคณะกรรมการยุทธศาสตร์รายชนิดสัตว์และปศุสัตว์เขต

  33. แผนงาน/โครงการรายชนิดสัตว์ปีงบประมาณ 2556

  34. แผนงาน/โครงการรายชนิดสัตว์ปีงบประมาณ 2556 ข้อมูล ณ วันที่ 5 กันยายน 2555 • โคเนื้อ 23โครงการ 30กิจกรรม งบประมาณ 404,461,508 บาท • โคนม 23 โครงการ 12กิจกรรม งบประมาณ 405,556,618 บาท • กระบือ 9โครงการ 21กิจกรรม งบประมาณ 67,265,836 บาท • สุกร 10โครงการ 12 กิจกรรม งบประมาณ 210,029,228บาท

  35. แผนงาน/โครงการรายชนิดสัตว์ปีงบประมาณ 2556(ต่อ) ข้อมูล ณ วันที่ 5 กันยายน 2555 • สัตว์ปีก 8 โครงการ 1 กิจกรรม ที่เลี้ยงระบบฟาร์ม งบประมาณ 197,525,099 บาท • ไก่พื้นเมือง19 โครงการ3กิจกรรม และเป็ดไล่ทุ่งงบประมาณ 506,291,087 บาท • แพะ-แกะ 44 โครงการ งบประมาณ 128,045,554บาท รวม 136 โครงการ 79 กิจกรรม งบประมาณ 1,919,174,930 ล้านบาท

  36. ขอขอบพระคุณทุกท่าน

More Related