1 / 17

Macromedia Flash 8

Macromedia Flash 8. Sukunya munjit .. detudom. ความต้องการระบบคอมพิวเตอร์. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางระดับ Intel Pentium 800 MHz หรือสูงกว่า ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 หรือสูงกว่า หน่วยความจำ (RAM) อย่างต่ำ 256 MB ( แนะนำให้ใช้ 1 GB)

rianna
Télécharger la présentation

Macromedia Flash 8

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Macromedia Flash 8 Sukunyamunjit ..detudom

  2. ความต้องการระบบคอมพิวเตอร์ความต้องการระบบคอมพิวเตอร์ • เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผลกลางระดับ Intel Pentium 800 MHz หรือสูงกว่า • ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 หรือสูงกว่า • หน่วยความจำ (RAM) อย่างต่ำ 256 MB (แนะนำให้ใช้ 1 GB) • เนื้อที่ของฮาร์ดดิสก์อย่างน้อย 710 MB จอภาพสีที่ความละเอียด 1024 x 768 pixels

  3. ความสามารถใหม่ใน Flash 8 • พื้นที่นอกสเตจที่เรียกว่า Pasteboard เป็นส่วนที่เราใช้เป็นที่พักชั่วคราวในการวางออบเจ็กต์ที่เราไม่ต้องการให้แสดงบนสเตจ เมื่อเราทดสอบผลงานในเวอร์ชั่นเก่าจะแสดงให้เห็นทั้งหมด แต่งานที่สร้างจาก flash 8 ได้ปิด การแสดงผลตรงนี้ไป เพื่อให้เห็นเฉพาะส่วนงานจริงบนสเตจเท่านั้น

  4. การวาดรูปและการลงสี รูปแบบเดิม ภาพวาดแบบปกติที่นำมาซ้อนกัน   หลังจากแยกภาพออกจากนั้น ภาพที่ถูกซ้อนทับจะหายไป รูปแบบใหม่ใน Flash 8 ภาพวาดที่เป็นออบเจ็กต์ที่นำมาซ้อนกัน หลังจากแยกภาพออกจะไม่มีส่วนใดของภาพที่หายไป

  5. ส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรมส่วนประกอบของหน้าต่างโปรแกรม

  6. Toolbox

  7. การสร้างไฟล์ด้วยการกำหนดรูปแบบเองการสร้างไฟล์ด้วยการกำหนดรูปแบบเอง • Flash Document ไฟล์รูปแบบปกติ ที่ใช้สร้างงานแอนนิเมชันทั่วไป • Flash Slide Presentation ไฟล์งานที่เหมาะกับการสร้างงานนำเสนอ • Flash Form Application ใช้สร้างฟอร์มสำหรับทำเป็นโปรแกรมใช้งานทั่วไป • ActionScript File เป็นหน้าต่างที่ไว้เขียนสคริปต์เพียงอย่างเดียว • ActionScriptCommunication File เขียนไฟล์เพื่อติดต่อกับเชิร์ฟเวอร์ • Flash JavaScriptFile เหมาะสำหรับงานเขียนสคริปต์ที่ทำงานร่วมกับ JavaScript หรือ API • Flash Project เป็นการรวมกลุ่มงานที่สร้างทั้งหมด ให้ออกมาเป็น Project ไฟล์

  8. นามสกุลของ Flash *.fla คือไฟล์ที่เกิดจากการบันทึกชิ้นงานใน Flash ซึ่งสามารถแก้ไขชิ้นงานได้ *.swf คือไฟล์สำหรับการนำไปเผยแพร่ หมายเหตุ : เมื่อมีการ Publish เพื่อเผยแพร่งานทางเว็บ จะได้ไฟล์ที่มีนามสกุล *.html เพิ่มขึ้นมาด้วย เพื่อแสดงภาพเคลื่อนไหวผ่านเว็บ

  9. วิธีการ Publish • เลือกเมนู File • เลือกคำสั่ง Publish หรือกดปุ่ม Shift + F12

  10. การกำหนดขนาดและคุณสมบัติของชิ้นงานการกำหนดขนาดและคุณสมบัติของชิ้นงาน • Title : ชื่อของชิ้นงาน • Description : รายละเอียดเกี่ยวกับชิ้นงาน • Dimensions : กำหนดขนาดของสเตจโดยระบุค่าความกว้างและความสูง • Match : กำหนดขนาดของสเตจ โดย • Printer ให้สเตจเท่ากับพื้นที่ใหญ่ที่สุดที่สามารถพิมพ์ได้ • Contents ให้พื้นที่การทำงานโดยรอบสเตจมีขนาดเท่ากัน • Default ปรับสเตจให้มีค่ามาตรฐานคือ 550*400 พิกเซล • Background color : กำหนดสีพื้น • Frame Rate กำหนดอัตราเร็วใน การแสดงภาพเคลื่อนไหว (มาตรฐานที่ใช้ 12 fps) • Ruler Units เลือกหน่วยวัดของไม้บรรทัด

  11. ชนิดของกราฟิก • Bitmap เป็นภาพที่เกิดจากเม็ดสีหรือจุดสี (pixel) มาเรียงกันเป็นภาพ ภาพประเภทนี้สามารถแสดงรายละเอียดได้ใกล้เคียงภาพจริง เช่น ภาพถ่ายที่มีความละเอียดสูง แต่ภาพเหล่านี้จะมีขนาดใหญ่ และเมื่อนำมาขยายจะทำให้ได้ภาพที่ไม่ชัด • Vector ภาพนี้จะใช้การคำนวณทางคณิตศาสตร์มาช่วยในการสร้างเส้นและลวดลายต่างๆ เหมาะสำหรับภาพกราฟิกที่มีสีค่อนข้างต่อเนื่อง แต่สามารถปรับแต่งขนาดได้โดยมีมีผลต่อความละเอียดของภาพ

  12. ทดลองใช้ Flash • เปิดโปรแกรม สร้างไฟล์ชิ้นแรก • เลือก Flash Document • สร้างวัตถุง่ายๆ เช่น เลือกปุ่มการทำงานแบบสำเร็จรูปที่เครื่องเตรียมไว้ โดยไปที่ Window > Common Libraries > Buttons แล้วเลือกปุ่มตามต้องการ • นำวัตถุมาสร้างภาพเคลื่อนไหว • บันทึกการใช้งาน • แปลงไฟล์ชิ้นงานสำหรับเผยแพร่

  13. เทคนิคการวาดเส้น • การวาดเส้นตรงให้เราเลือกเครื่องมือ Line Tool หรือกดคีย์บอร์ด ตัว N • ลองลากเส้นต่อกันดังรูป • กรณีที่เส้น สองเส้นไม่ต่อกันดังรูปที่ผ่านมา ให้เราเลือกที่เครื่องมือ Snap to Object • ลองวาดเส้นใหม่อีกครั้ง เส้นที่วาดใกล้กันจะต่อติดกันพอดี • เมื่อได้เส้นมาแล้ว เราสามารถปรับแต่งเส้นได้ โดยให้เราเลือกเครื่องมือ Selection tool ก่อน หรือกดคีย์บอร์ดตัว V ดังภาพ

  14. รู้จัก Timeline และ Frame Frame Timeline

  15. Frame • Frame เป็นส่วนประกอบของ Timeline ประกอบด้วย Frame ที่ต่อเนื่องกันหลาย ๆ Frame เมื่อมีการแสดงภาพเคลื่อนไหวโปรแกรมจะนำวัตถุ (Instance) ที่อยู่บนเวที (Stage) มาแสดงผลทีละFrame ในส่วนของความเร็วในการแสดงผลมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับการกำหนดคุณสมบัติ Movie Properties ที่ Frame Rate มีหน่วยเป็น Frame per Second (fps) ปกติจะใช้อยู่ที่ 12fps

  16. ลักษณะการทำงานของ Frame ที่ปรากฏบน Timeline • ในกรณีที่ยังไม่มีการกำหนดใช้งาน Frame บน Timeline จะปรากฏช่องของแต่ละ Frame อย่างชัดเจน Playhead จะไม่เคลื่อนที่ • การกำหนดใช้งาน Frame บน Timeline จะปรากฏเป็นแถบสีขาวเท่ากับจำนวน Frame ที่กำหนด Playhead จะเคลื่อนที่จนถึง Frame สุดท้าย • Keyframeมีสัญลักษณ์เป็นจุดสีดำอยู่กลาง Frame เป็นตำแหน่งที่มีวัตถุบนพื้นที่ทำงานหรือมีการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนไหวต่อเนื่องไปจน ถึง Frame สุดท้ายของ Keyframeนั้น มีสัญลักษณ์เป็นรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ภายใน Frame

  17. ลักษณะการทำงานของ Frame (ต่อ) • Action frame มีสัญลักษณ์เป็นรูป a อยู่กลาง Frame เป็นตำแหน่งที่มีคำสั่ง Action ประกอบอยู่ภายใน Frame นั้น • Motion-tweenedkeyframes มีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกศรสีดำ อยู่ระหว่างจุด 2 จุด บนพื้นสีฟ้าอ่อน • Shape-tweenedkeyframes มีสัญลักษณ์เป็นรูปลูกศรสีดำ อยู่ระหว่างจุด 2 จุด บนพื้นสีเขียวอ่อน

More Related