1 / 40

ดร. ปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 16 สิงหาคม 2548

ผู้ผลิต SMEs เครื่องหนัง อัญมณีและเครื่องประดับ จะใช้ประโยชน์จากข้อตกลง FTA อย่างไร. ดร. ปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 16 สิงหาคม 2548. Unilateral : ไทยพร้อมลด ภาษีฝ่ายเดียว (ไทยแข่งขันได้). U. การทำงาน ร่วมกัน ระหว่าง ภาคเอกชน กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรฯ.

riona
Télécharger la présentation

ดร. ปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 16 สิงหาคม 2548

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผู้ผลิต SMEs เครื่องหนัง อัญมณีและเครื่องประดับ จะใช้ประโยชน์จากข้อตกลง FTAอย่างไร ดร. ปิยะนุช มาลากุล ณ อยุธยา สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย 16สิงหาคม2548

  2. Unilateral : ไทยพร้อมลด ภาษีฝ่ายเดียว (ไทยแข่งขันได้) U การทำงาน ร่วมกัน ระหว่าง ภาคเอกชน กระทรวงการคลัง กระทรวงเกษตรฯ Reciprocal : ลดภาษีพร้อม กัน 2 ฝ่าย 2004-2007 (ไทยแข่งขันได้) R Normal : ลดภาษีปกติ 2007-2010(ไทยแข่งขันได้ แต่อาจต้องใช้เวลาปรับตัว) N Sensitive : ไม่ต้องการลด ภาษี (ไทยไม่พร้อมแข่งขัน) S Other : ลดภาษี แบบมี เงื่อนไข (ไทยไม่พร้อมแข่งขัน) X X

  3. อัญมณี สินค้า ออส เตรเลีย สหรัฐฯ อินเดีย ญี่ปุ่น เปรู จีน หนังดิบ หนังฟอก กระเป๋า หนัง เครื่อง แต่งกาย ทำด้วยหนัง เครื่อง หนังอื่นๆ

  4. การลดภาษี ของประเทศคู่ค้าไม่ใช่คำตอบสุดท้ายที่จะช่วยให้ท่านได้ประโยชน์จากข้อตกลง FTA การผลิตให้ได้แหล่งกำเนิดสินค้า อาจจะเป็นคำตอบสำหรับท่าน

  5. ส่วนที่1 ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า กับการได้สิทธิประโยชน์ทางภาษี ส่วนที่2 กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าของ ประเทศที่ทำ FTAกับไทย ส่วนที่ 3 ตัวอย่างข้อเท็จจริงการผลิตอัญมณี และเครื่องประดับกับกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ของอาเซียน และ ACFTA

  6. ส่วนที่1 ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า กับการได้สิทธิประโยชน์ทางภาษี

  7. ประเทศที่ได้แหล่งกำเนิดสินค้าประเทศที่ได้แหล่งกำเนิดสินค้า จะได้สิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี ตามข้อตกลง FTA ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า 1

  8. 0% ทำเครื่องประดับเงิน ได้LC>40% 0% ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า 1 สมมุติกำหนดให้ต้องผลิตสินค้าโดยใช้สัดส่วนวัตถุดิบในประเทศ Local Content 40% ทำเครื่องประดับเทียม ได้LC >40% Origin Origin

  9. ประเทศที่ไม่ได้แหล่งกำเนิดสินค้าประเทศที่ไม่ได้แหล่งกำเนิดสินค้า จะเสียสิทธิประโยชน์ทางด้านภาษี ตามข้อตกลง FTA ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า 1

  10. WTO WTO WTO 35 % 35% ทำเพชรสำเร็จรูป ได้LC <40% 0% Origin ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า 1 กำหนดให้ต้องผลิตสินค้าโดยใช้สัดส่วนวัตถุดิบในประเทศ Local Content 40% ตัวอย่างสมมุติ ทำเครื่องประดับเทียม ได้LC >40% Origin

  11. ความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าความสำคัญของกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า 1 ถ้าประเทศที่ทำ FTAกับไทยเก็บอัตราภาษีนำเข้า 0% กับทุกประเทศที่เป็นสมาชิก WTO สำหรับสินค้าอัญมณีและเครื่องประดับ กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ภายใต้ จะไม่มีความสำคัญ FTA

  12. ส่วนที่2 กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าของ ประเทศที่ทำ FTAกับไทย เจรจาแล้ว ไทย-ออสเตรเลีย, ไทย-นิวซีแลนด์, ไทย อินเดีย (82 รายการ) กำลังเจรจา อาเซียน, อาเซียน-จีน, ไทย-ญี่ปุ่น, ไทย-เปรู, ไทย-สหรัฐฯ

  13. ท่าทีของประเทศต่างๆ ด้านแหล่งกำเนิดสินค้า อัญมณี อาเซียน-จีน อาเซียน อินเดีย นิวซีแลนด์ เปรู ออสเตรเลีย

  14. สถานะการเจรจากฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าสถานะการเจรจากฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า

  15. ทำเครื่องประดับ ได้เกณฑ์ CTH 0%* นำเข้าเนื้ออ่อน พิกัด 7103.10 มาผลิตเครื่องประดับ พิกัด 7113.19 0%* กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้ากรอบ TAFTA 2 เครื่องประดับ พิกัด 7113.19 เกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าที่ตกลงกัน CTSH (ผลิตได้เกณฑ์ CTH) Origin Origin *อัตราภาษีสมมุติ

  16. ทำเพชรสำเร็จ ได้เกณฑ์ WO 0%* นำเข้าเพชรก้อน พิกัด 7102.31 มาผลิตเพชรสำเร็จ พิกัด 7102.39 0%* กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้ากรอบ TH-NZ 2 เครื่องประดับ พิกัด 7102.39 เกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าที่ตกลงกัน CTSH (ผลิตได้เกณฑ์ CTSH) Origin Origin *อัตราภาษีสมมุติ

  17. 0% ทำเครื่องประดับเงิน ได้LC>40% 0% กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้ากรอบอาเซียน-จีน 2 สมมุติกำหนดให้ต้องผลิตสินค้าโดยใช้สัดส่วนวัตถุดิบในประเทศ Local Content 40% ทำเครื่องประดับเทียม ได้LC >40% Origin Origin

  18. 2 สูตรการคำนวณ Local Contentของอาเซียนในปัจจุบัน การคำนวณทางอ้อม(Indirect way) = มูลค่าวัตถุดิบนำเข้า x 100 < 60% ราคาFOB การคำนวณทางตรง(Direct way) มูลค่าวัตถุดิบในประเทศ + ต้นทุน =+ กำไร + ค่าขนส่ง (มาที่ท่าเรือ) x 100>40% ราคา FOB ได้แหล่งกำเนิด

  19. วัตถุดิบใช้สะสมระหว่างกันในอาเซียน( ) CRO กฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้าของอาเซียนในปัจจุบัน 2 แบบเดิม... 40 นับ 100 (สะสมได้เต็มมูลค่า) โดยประเทศที่ส่งออกวัตถุดิบมาให้สะสม จะได้ภาษี CEPT Full แบบใหม่ ... สะสมโดยนับมูลค่าตามสัดส่วนที่เป็นจริง ซึ่งประเทศที่ส่งออกวัตถุดิบมาให้สะสม จะไม่ได้ภาษี CEPTเนื่องจากได้Local Content ไม่ถึง40% (20-39%) Partial

  20. ไม่ได้ภาษี CEPT ไม่ได้ภาษี ACFTA พม่า ไทย จีน ก้อน ทับทิม นอกอาเซียน ทำทับทิมสำเร็จ มูลค่า100 LC 20% ทำเครื่อง ประดับพลอย LC 35% นำเข้า สินค้า จากไทย ออสเตรเลีย ทอง ไทยไม่สามารถนำมูลค่าที่ซื้อจากพม่า มาสะสมเป็นต้นทุนของไทยได้เลย เนื่องจาก LC<40%ให้ถือว่า ทับทิมสำเร็จมาจากนอกอาเซียน กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) 2 ก่อนวันที่ 1 ก.ค. 48 ตัวอย่างสมมติ...สินค้าอัญมณี..กรณีส่งออกไปจีนภายใต้กรอบ ACFTA Full

  21. ได้ภาษี ACFTA จีน ? นำเข้า สินค้า จากไทย ไทยสามารถนำมูลค่า 20 ที่ซื้อจากพม่า(20% ของ100)มาสะสมรวม เป็นต้นทุนของไทยได้ เนื่องจาก LC>20% กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) 2 หลังวันที่ 1 ก.ค. 48 ตัวอย่างสมมติ...สินค้าอัญมณี..กรณีส่งออกไปจีนภายใต้กรอบ ACFTA Partial ไม่ได้ภาษี CEPT พม่า ไทย ก้อน ทับทิม นอกอาเซียน ทำทับทิมสำเร็จ มูลค่า100 LC 20% ทำเครื่อง ประดับพลอย LC 40% ออสเตรเลีย ทอง

  22. พม่า ไม่ได้ภาษี ACFTA ไม่ได้ภาษี CEPT ไทย จีน ทำตัวเรือน มูลค่า100 LC 30% ประกอบเป็นเครื่อง ประดับเพชร LC 15% *เงินไม่ได้ ขึ้นรูป *เพชรไม่ได้ตกแต่ง นอกอาเซียน นำเข้า สินค้า จากไทย สิงคโปร์ ทำเพชร เจียระไน มูลค่า100 LC 20% ไทยไม่สามารถนำมูลค่าใดๆ จากพม่า และ จากสิงคโปร์ มาสะสมรวมเป็นต้นทุนของไทยได้ ให้ถือว่าเป็นวัตถุดิบจากนอกอาเซียน กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) 2 ก่อนวันที่ 1 ก.ค. 48 ตัวอย่างสมมติ...สินค้าอัญมณี..กรณีส่งออกไปจีนภายใต้กรอบ ACFTA Full

  23. ได้ภาษี ACFTA จีน นำเข้า สินค้า จากไทย ไทยสามารถนำมูลค่า 30 (30%ของ100) จากพม่า และ 20 จากสิงคโปร์ มาสะสมรวมเป็นต้นทุนของไทยได้ กฎแหล่งกำเนิดสินค้าสะสมของอาเซียน (CRO : Cumulative Rules of Origin) 2 หลังวันที่ 1 ก.ค. 48 ตัวอย่างสมมติ...สินค้าอัญมณี..กรณีส่งออกไปจีนภายใต้กรอบ ACFTA Partial พม่า ไม่ได้ภาษี CEPT ไทย ทำตัวเรือน มูลค่า100 LC 30% ประกอบเป็นเครื่อง ประดับเพชร *เงินไม่ได้ ขึ้นรูป *เพชรไม่ได้ตกแต่ง นอกอาเซียน LC 40% สิงคโปร์ ทำเพชร เจียระไน มูลค่า100 LC 20%

  24. 2 สถานะการเจรจากฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ACFTA สินค้าทั่วไป • ใช้วัตถุดิบทั้งหมดในประเทศไทย อาเซียน หรือจีน • Local Content 40% ระหว่างไทย อาเซียน หรือจีน สะสมกัน สินค้าบางรายการ กรณีไม่สามารถผลิตได้ Local Content 40%กำหนดให้สามารถใช้หลักเกณฑ์เฉพาะ (ProductSpecific Rule)ได้ ซึ่งจะเปลี่ยนมาใช้วิธีการเปลี่ยนพิกัดแทน สถานะปัจจุบัน สินค้ากลุ่มแรก (First Package)จำนวน 473 รายการ สามารถใช้วิธีการเปลี่ยนพิกัดศุลกากรได้ อาทิ สิ่งทอ ปลาแซลมอนกระป๋อง ปลาแฮริ่งกระป๋อง เครื่องหนัง วูล(ขนสัตว์) เป็นต้น

  25. การเปลี่ยนพิกัด เสนอใช้วิธี เนื่องจากต้องการเปิดโอกาสให้นำเข้า วัตถุดิบจากนอกอาเซียนได้ Local Content ต้องการใช้วิธี เนื่องจากต้องการสนับสนุนให้ใช้ วัตถุดิบในอาเซียน ความคืบหน้าล่าสุดการเจรจากฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ของอาเซียน-จีน ... สำหรับสินค้าอัญมณี 2 สินค้าอัญมณีอยู่ในกลุ่มสินค้าลำดับที่ 2 (Second Package)ที่อาเซียนและจีนกำลังพิจารณาให้สามารถใช้วิธีการเปลี่ยนพิกัดได้ คาดว่าจะรู้ผลปลายปี 2548 ขณะนี้ถ้าจะส่งไปจีนต้องใช้เกณฑ์ Local Content 40%ไปก่อน

  26. ส่วนที่ 3 ตัวอย่างข้อเท็จจริงการผลิต อัญมณีและเครื่องประดับกับกฎว่าด้วยแหล่งกำเนิดสินค้า ของอาเซียน และ ACFTA

  27. 3 ตัวอย่างสินค้าอัญมณีที่จะนำเสนอ ไพลินสำเร็จ ทับทิมสำเร็จ เครื่องประดับ.. เพชรสำเร็จ เครื่องประดับเงิน

  28. โครงสร้างต้นทุนการผลิตพลอยเจียระไน เพชรเจียระไน และ เครื่องประดับเพชรพลอย 3 ที่มา : วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต (เศรษฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2542

  29. ถ้าได้LC>40%เสียภาษี 5% ACFTA • ถ้าได้ LC<40%เสียภาษีWTO 8% 3 ตัวอย่างสมมติการผลิต ...ไพลินสำเร็จ..7103.91 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย วัตถุดิบอื่นๆ 5 ค่าแรงงาน 21 ค่าใช้จ่ายโรงงาน 6 ค่าเสื่อมราคา 3 ค่าดอกเบี้ย 3 ต้นทุนอื่นๆ 2 40 ก้อนไพลิน 60 (มาดากาซกา) จีน ไพลินสำเร็จ LC 40% (+/-)

  30. ได้LC=100% เนื่องจากนำเข้าจากอาเซียน (พม่า) เป็นไปตามกฎสะสมFTA เสียภาษี 5% ACFTA • แต่ถ้านำเข้าก้อนทับทิมจากนอกอาเซียนLC<40%เสียภาษีWTO 8% 3 ตัวอย่างสมมติการผลิต ...ทับทิมสำเร็จ..7103.91 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย วัตถุดิบอื่นๆ 5 ค่าแรงงาน 21 ค่าใช้จ่ายโรงงาน 6 ค่าเสื่อมราคา 3 ค่าดอกเบี้ย 3 ต้นทุนอื่นๆ 2 40 ก้อนทับทิม60 (พม่า) ทับทิมสำเร็จ LC > 40% จีน

  31. เสียภาษี 20% ACFTA 0% ในปี 2553 (ภาษี WTO=26%) 3 ตัวอย่างสมมติการผลิต ... เครื่องประดับเงิน..7113.11 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย • ได้ LC=100% • ถ้านำเข้าเงินจากจีน • ตามกฎสะสมของ FTA พลอยที่เจียแล้ว 35 วัตถุดิบอื่นๆ 5 ค่าแรงงาน 12 ค่าใช้จ่ายโรงงาน 8 ค่าเสื่อมราคา 4 ค่าดอกเบี้ย 3 ต้นทุนอื่นๆ 3 70 เงิน 30 (จีน/ฮ่องกง/เกาหลีใต้) • ได้ LC=70% • ถ้านำเข้าเงินจาก • ฮ่องกง / เกาหลีใต้ เครื่องประดับ LC 100%หรือ 70% จีน

  32. LC<40%เสียภาษี WTO 35% เสนอการเปลี่ยน พิกัดระดับ 4 หลัก CTH 3 ตัวอย่างสมมติการผลิต ... เครื่องประดับแฟชั่น..7113.19 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย เนื้ออ่อน 7103.10 (แอฟริกา) คริสตัน 7018.10 (ออสเตรเลีย) ทอง 7108.12 (สวิตเซอร์แลนด์) ค่าแรงงาน 21 ค่าใช้จ่ายโรงงาน 6 ค่าเสื่อมราคา 3 ค่าดอกเบี้ย 3 ต้นทุนอื่นๆ 2 35 65 จีน เครื่องประดับ LC 35%

  33. เกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าที่เหมาะสมเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าที่เหมาะสม สำหรับ... เครื่องประดับแฟชั่น..7113.19 3 “CTH” สินค้าสำเร็จรูป วัตถุดิบนำเข้า เนื้ออ่อน พิกัด 7103.10 ทอง พิกัด 7108.12 เครื่องประดับแฟชั่น พิกัด 7113.19

  34. LC<40%เสียภาษี WTO 8% เสนอการเปลี่ยน พิกัดระดับ 6 หลัก CTSH 3 ตัวอย่างสมมติการผลิต ... เพชรสำเร็จ..7102.39 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย วัตถุดิบอื่นๆ 2 ค่าแรงงาน 11 ค่าใช้จ่ายโรงงาน 4 ค่าเสื่อมราคา 1 ค่าดอกเบี้ย 1 ต้นทุนอื่นๆ 1 20 เพชรก้อน 80 7102.31 เบลเยี่ยม อิสราเอล อินเดีย จีน เพชรสำเร็จ LC 20%

  35. เกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าที่เหมาะสมเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าที่เหมาะสม สำหรับ...เพชรสำเร็จ...7102.39 3 “CTSH” สินค้าสำเร็จรูป วัตถุดิบนำเข้า เพชรก้อน พิกัด 7102.31 เพชรสำเร็จ พิกัด 7102.39

  36. เสียภาษี 20% ACFTA 0% ในปี 2555 (ภาษี WTO=35%) 3 ตัวอย่างสมมติการผลิต..เครื่องประดับพลอย..7113.19...แบบที่ 1 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย วัตถุดิบอื่นๆ 5 ค่าแรงงาน 12 ค่าใช้จ่ายโรงงาน 8 ค่าเสื่อมราคา 4 ค่าดอกเบี้ย 3 ต้นทุนอื่นๆ 3 35 ก้อนทับทิม (พม่า) ทอง (ออสเตรเลีย) • ได้ LC > 40% • เนื่องจากนำเข้า ก้อนทับทิมจากอาเซียน (พม่า)ตามกฎสะสมของ • FTA 65 เครื่องประดับพลอย LC > 40% จีน

  37. เสียภาษี 20% ACFTA 0% ในปี 2555 (ภาษี WTO=35%) 3 ตัวอย่างสมมติการผลิต..เครื่องประดับพลอย..7113.19..แบบที่ 2 วัตถุดิบนำเข้า ประเทศไทย ได้ LC > 40% เนื่องจากนำเข้าก้อนทับทิมจากจีน เป็นไป ตามกฎสะสมของ FTA ค่าแรงงาน ค่าใช้จ่ายโรงงาน ค่าเสื่อมราคา ค่าดอกเบี้ย ต้นทุนอื่นๆ ทับทิมสำเร็จ (จีน) ทอง (ออสเตรเลีย) เครื่องประดับพลอย LC > 40% จีน

  38. สรุป ? ประโยชน์จากข้อตกลง FTA อยู่ที่ผลิตได้แหล่งกำเนิดสินค้าหรือไม่ ดังนั้น ผู้ผลิต SMEsอัญมณีและเครื่องประดับ ต้องผลิตสินค้าให้ผ่านเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้าที่ตกลงกัน • ผลักดันวิธีการผลิตของไทยให้กำหนดเป็นเกณฑ์แหล่งกำเนิดสินค้า • ใช้วัตถุดิบในประเทศหรือของประเทศที่ทำ FTAกับไทย • มุ่งเน้นส่งออกรายการสินค้าที่ไทยมีจุดแข็งด้านวัตถุดิบในประเทศเพื่อผลิตให้ได้ LCสูงๆ • ใช้กฎ CTCเมื่อผลิตไม่ได้ LCสูงๆ

  39. Website ความคืบหน้า FTA สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย : www.thaiechamber.com คลิกที่ ศูนย์ข้อมูลธุรกิจ โทร. 0-2622-1111 ต่อ 146,659และ639 www.dtn.moc.go.th www.thaifta.com www.ftamonitoring.org

  40. ขอบคุณ และสวัสดี

More Related