1 / 76

พิษวิทยาและอาชีวเวชศาสตร์

พิษวิทยาและอาชีวเวชศาสตร์. (Toxicology and Occupational Medicine). หน่วยที่ 1 หลักการทางพิษวิทยา. ตอนที่ 1.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพิษวิทยา วัตถุประสงค์ 1.อธิบายประวัติของพิษวิทยาได้ 2.อธิบายความหมายและความสำคัญของพิษวิทยาได้. เรื่องที่ 1.1.1 ประวัติพิษวิทยา. สมัยเก่า ฮิปโปเครติส

Jims
Télécharger la présentation

พิษวิทยาและอาชีวเวชศาสตร์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พิษวิทยาและอาชีวเวชศาสตร์พิษวิทยาและอาชีวเวชศาสตร์ (Toxicology and Occupational Medicine)

  2. หน่วยที่ 1 หลักการทางพิษวิทยา • ตอนที่ 1.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพิษวิทยา วัตถุประสงค์ 1.อธิบายประวัติของพิษวิทยาได้ 2.อธิบายความหมายและความสำคัญของพิษวิทยาได้

  3. เรื่องที่ 1.1.1 ประวัติพิษวิทยา • สมัยเก่า • ฮิปโปเครติส ศึกษาการเกิดพิษจากสารพิษและเขียนหลักการทางพิษวิทยาสมัยเก่าที่เกี่ยวข้องกับการดูดซึมสารพิษเพื่อช่วยในการรักษาและลดการรับสารพิษเข้าสู่ร่างกาย • ดิโอสคอริเดส แบ่งสารพิษออกเป็นชนิดต่างๆตามลักษณะของสารพิษและกล่าวถึงการทำลายความเป็นพิษของสารพิษ

  4. สมัยใหม่ • ออร์ฟิลา - บิดาของวิชาพิษวิทยา - ผู้ให้คำจำกัดความของพิษวิทยา - จำแนกพิษวิทยาออกเป็นแขนงวิชาหนึ่ง - ทดลองการเกิดพิษในสัตว์ทดลองโดยเฉพาะสุนัข • เคลาด์ เบอร์นาร์ด - ค้นพบกลไกการออกฤทธิ์ของยางน่อง - ค้นพบบริเวณที่สารออกฤทธิ์ในร่างกาย

  5. สมัยกลาง • แคทเทอรีน เดอเมดิซี - ใช้นักโทษเป็นผู้ถูกทดลอง - ศึกษาเกี่ยวกับความเร็วในการตอบสนอง - ความสามารถในการออกฤทธิ์ของสารพิษ - การศึกษาพิษวิทยาเชิงทดลอง • มอสเบนไมนอน - หนังสือยาพิษและยาแก้พิษ • พาราเซลซัส - วางรากฐานเกี่ยวกับการศึกษาทางพิษวิทยา

  6. เรื่องที่ 1.1.2 ความหมายและความสำคัญของพิษวิทยา • ความหมายของพิษวิทยา 1.สิ่งที่ทำให้เกิดพิษ (Toxic agent) 2.กลไกการเกิดพิษ (Mechanism of toxicity) 3.การเกิดพิษ (Toxicity)

  7. พิษวิทยา เป็นวิชาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาผลของสารพิษหรือสิ่งที่ทำให้เกิดพิษซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีววิทยาและสรีรวิทยาของสิ่งมีชีวิต หรือเป็นการศึกษาถึงผลเสียของสารพิษหรือสิ่งที่ทำให้เกิดพิษที่มีต่อสิ่งมีชีวิต

  8. ความสำคัญของพิษวิทยา • ด้านสุขภาพ - สร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและการควบคุมโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพ • ด้านสิ่งแวดล้อม - อธิบายความเป็นพิษที่เกิดขึ้นและนำไปสู่การป้องกัน รักษาและปรับปรุงสภาวะแวดล้อมให้มีระบบนิเวศที่เหมาะสม

  9. ด้านอุตสาหกรรม - ศึกษาและวิจัยเพื่อป้องกัน ควบคุมและแก้ไขปัญหาความเป็นพิษของสารเคมี • ด้านเกษตรกรรม - พิษวิทยาทางโภชนาการ • ด้านการควบคุมความปลอดภัย - พิษวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม

  10. ตอนที่ 1.2 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสารพิษในร่างกาย • วัตถุประสงค์ 1.อธิบายการดูดซึมสารพิษเข้าสู่ร่างกายได้ 2.อธิบายการกระจายของสารพิษในร่างกายได้ 3.อธิบายการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของสารพิษในร่างกายได้ 4.อธิบายการกำจัดสารพิษออกจากร่างกายได้

  11. เรื่องที่ 1.2.1 การดูดซึมสารพิษเข้าสู่ร่างกาย • สารพิษที่เข้าสู่ร่างกาย 3 ทางใหญ่ๆคือ 1.ผิวหนัง 2.การหายใจผ่านปอด 3.การกินผ่านทางเดินอาหาร

  12. การดูดซึมสารพิษผ่านเยื่อหุ้มเซลล์การดูดซึมสารพิษผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ • การเคลื่อนที่แบบธรรมดา ( Passive diffusion) - เป็นการเคลื่อนที่ของสารพิษจากด้านที่มี ความเข้มข้นสูงไปสู่ด้านที่มีความเข้มข้นต่ำ โดยไม่ต้องใช้พลังงาน • การเคลื่อนที่แบบแอกทีฟ (Active transport) - เป็นการเคลื่อนที่ของสารพิษจากด้านที่มี ความเข้มข้นต่ำไปสู่ด้านที่มีความเข้มข้นสูง โดยการจับกับตัวพาและใช้พลังงานด้วย

  13. 1.1 การแพร่กระจายแบบธรรมดา (Simple diffusion) - เป็นการแพร่กระจายของสารพิษที่มีโมเลกุลเล็กผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ทางรูพรุน - สารพิษที่ละลายในไขมันได้ดีจะเคลื่อนที่ผ่านองค์ประกอบของเยื่อหุ้มเซลล์ที่เป็นไขมัน - สารที่ไม่แตกตัวเป็นประจุสามารถละลายได้ดีในไขมันของเยื่อหุ้มเซลล์ 1.2 การแพร่กระจายแบบใช้ตัวพา (Facillitated diffusion) - คล้ายกับการแพร่กระจายแบบธรรมดาแต่ต้องมีตัวพาอยู่บนเยื่อหุ้มเซลล์

  14. ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมสารพิษปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมสารพิษ • สภาพทางกายภาพและเคมีของสารพิษ • ความสามารถในการละลาย • สภาวะแวดล้อมที่ตำแหน่งที่จะมีการดูดซึม • ความเข้มข้นของสารพิษในบริเวณที่มีการดูดซึม • การไหลเวียนของกระแสโลหิตในตำแหน่งที่มีการดูดซึม • พื้นที่ในการดูดซึม

  15. การดูดซึมสารพิษผ่านส่วนต่างๆของร่างกายการดูดซึมสารพิษผ่านส่วนต่างๆของร่างกาย • การดูดซึมของสารพิษผ่านระบบทางเดินอาหาร - สารพิษที่จะถูกดูดซึมได้ในทางเดินอาหารต้องเป็นสารที่ละลายได้ดีในไขมันและไม่มีประจุ • การดูดซึมของสารพิษผ่านทางระบบทางเดินหายใจ - >10 ไมครอน  ช่องผ่านของอากาศในจมูก และปาก - <10 ไมครอน  ส่วนต่อระหว่างหลอดลมใหญ่ และหลอดลมเล็กของปอด - <1 ไมครอน  ถุงลม

  16. 3. การดูดซึมของสารพิษผ่านทางผิวหนัง - สารพิษที่ละลายได้ดีในไขมันจะสามารถซึมผ่านผิวหนังเข้าไปในร่างกายและทำให้เกิดความเป็นพิษได้ • การดูดซึมของสารพิษผ่านทางอื่นๆ - ตา เยื่อบุต่างๆ รก • การดูดซึมของสารพิษผ่านช่องทางพิเศษที่เข้าสู่ร่างกาย - ช่องท้อง ใต้ผิวหนัง กล้ามเนื้อ หลอดเลือดดำ

  17. เรื่องที่ 1.2.2 การกระจายของสารพิษในร่างกาย • สารพิษที่มีความสามารถในการจับเกาะกับโปรตีนในพลาสมาได้ดีจะอยู่ในเลือดและไม่สามารถผ่านเข้าไปในเนื้อเยื่อ ทำให้มีปริมาตรของการกระจายในร่างกาย (Volume of distribution: Vd) น้อยมาก สารพิษที่สามารถละลายเข้าไปอยู่ในเซลล์ของเนื้อเยื่อได้จะมีปริมาตรของการกระจายในร่างกายมาก แสดงว่า สารนั้นมีการขับออกจากร่างกายได้ช้า • สารพิษส่วนใหญ่จะจับกับอัลบูมิน ทำให้ไม่สามารถผ่านผนังหลอดเลือดฝอยได้ทำให้มีผลน้อยต่ออวัยวะจำเพาะ

  18. เรื่องที่ 1.2.3 การเปลี่ยนแปลง โครงสร้างของสารพิษในร่างกาย • ขั้นตอนที่ 1 • กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสารพิษที่ใช้เอนไซม์ในไซโตพลาสซึม และไมโตคอนเดรีย • กลไกการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างสารพิษที่ใช้เอนไซม์ในไมโครโซม - ไมโครโซม เป็นส่วนของเซลล์ที่เรียกว่า เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัมส่วนเรียบ

  19. ขั้นตอนที่ 2 - สารพิษที่ยังไม่ถูกเปลี่ยนแปลงโครงสร้างหรือเปลี่ยนแปลงโครงสร้างไปแล้วแล้วจะจับตัวกับสารที่มีอยู่ภายในเซลล์จนได้สารที่มีคุณสมบัติละลายน้ำได้ดีขึ้นเพื่อง่ายต่อการขับออกจากร่างกาย เรียกว่า เกิดกระบวนการจับตัว(Conjugation)

  20. เรื่องที่ 1.2.4 การกำจัดสารพิษออกจากร่างกาย • การขับสารพิษออกทางปัสสาวะ - ไต • การขับสารพิษออกทางน้ำดี - ตับ 3) การขับสารพิษออกทางปอด 4) การขับสารพิษออกทางระบบทางเดินอาหาร 5) การขับสารพิษออกทางน้ำนม

  21. ตอนที่ 1.3 ลักษณะการเกิดพิษ การตอบสนองของร่างกายต่อสารพิษและปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสารพิษในร่างกาย • วัตถุประสงค์ 1.อธิบายลักษณะการเกิดพิษ ในร่างกายได้ 2.อธิบายการตอบสนองของร่างกายต่อสารพิษได้ 3. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสารพิษในร่างกาย

  22. เรื่องที่ 1.3.1 ลักษณะการเกิดพิษ • การได้รับสารพิษ • การได้รับสารพิษแบบเฉียบพลัน(Acute exposure) - <24 ชม. • การได้รับสารพิษกึ่งเฉียบพลัน(Subacute exposure) - ติดต่อกันเป็นเวลา 1 เดือน • การได้รับสารพิษแบบกึ่งเรื้อรัง(Subchronic exposure) - ติดต่อกันเป็นเวลา1- 3เดือน • การได้รับสารพิษแบบเรื้อรัง (Chronic exposure) - ติดต่อกันเกิน 3 เดือนขึ้นไป

  23. การเกิดพิษในร่างกาย • การเกิดแบบเฉียบพลัน(Acute toxicity) • การเกิดพิษแบบกึ่งเรื้อรัง(Subchronic toxicity) • การเกิดพิษแบบเรื้อรัง(Chronic toxicity) • การก่อมะเร็งที่อวัยวะภายในร่างกาย • การก่อกลายพันธุ์หรือผ่าเหล่าของเซลล์ • การผิดปกติในอวัยวะของเด็กที่เกิดออกมาหรือการเกิดลูกวิรูป • การผิดปกติในระบบภูมิคุ้มกัน

  24. ลักษณะการทำอันตรายหรือการออกฤทธิ์ ลักษณะการทำอันตรายหรือการออกฤทธิ์ • การทำอันตรายเฉพาะที่หรือการออกฤทธิ์เฉพาะแห่ง • การออกฤทธิ์ทั่วร่างกาย

  25. เรื่องที่ 1.3.2 การตอบสนองของ ร่างกายต่อสารพิษ • การตอบสนองแบบผลรวมของการเกิดพิษของสารพิษแต่ละชนิด • การตอบสนองแบบเสริมฤทธิ์กัน • การตอบสนองแบบเพิ่งศักยภาพในการออกฤทธิ์ • การตอบสนองแบบยับยั้งการเกิดพิษ

  26. เรื่องที่ 1.3.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง ของสารพิษในร่างกาย • ตัวสารเคมีเอง • ช่องทางที่ได้รับสารพิษ • ตำแหน่งที่ได้รับสารพิษ • ขนาดที่ได้รับสารพิษ • ปริมาตรและความเข้มข้นของสารพิษ • ความถี่ของการได้รับสารพิษ

  27. 7) การเป็นพิษแบบช้า 8) ช่วงเวลาและฤดูกาลที่ได้รับสารพิษ 9) การแพ้สาร 10) คนหรือสัตว์ที่ได้รับสารพิษ 11) สิ่งแวดล้อม 12) การได้รับสารพิษหลายชนิด

  28. ตอนที่ 4 หลักการทดสอบสารพิษ • วัตถุประสงค์ 1.อธิบายหลักการทดสอบสารพิษเฉียบพลัน พิษกึ่งเรื้อรัง และพิษเรื้อรังได้ 2.อธิบายหลักการทดสอบการก่อมะเร็ง การทดสอบการก่อกลายพันธุ์ การทดสอบการก่อลูกวิรูป การทดสอบผลต่อการสืบพันธุ์ และการทดสอบเมตาบอลิซึมได้

  29. เรื่องที่ 1.4.1 การทดสอบสารพิษเฉียบพลัน พิษ กึ่งเรื้อรัง และพิษเรื้อรัง • การทดสอบความเป็นพิษเฉียบพลัน - LD50(Lethal Dose 50) ตัวเลขน้อยมีพิษมาก • การทดสอบความเป็นพิษกึ่งเรื้อรัง - 90 วัน สัตว์กัดแทะ - 6 เดือน สัตว์เลือดอุ่น • การทดสอบความเป็นพิษเรื้อรัง - 3 เดือน  สัตว์กัดแทะ - 1-2 ปี  สัตว์ไม่กัดแทะ

  30. เรื่องที่ 1.4.2 การทดสอบการก่อมะเร็ง การทดสอบ การก่อกลายพันธุ์ การทดสอบการก่อลูกวิรูป การทดสอบผลต่อการสืบพันธุ์และการทดสอบเมตาบอลิซึม • การทดสอบการก่อมะเร็ง หลักการจัดลำดับความสำคัญของสารพิษ - สารพิษนั้นต้องถูกทดสอบก่อนการใช้ในคน - สารพิษที่กำลังถูกใช้ในการรักษาผู้ป่วย ทารก หญิงมีครรภ์ แม่ลูกอ่อน - สารพิษที่ถูกตัดสินให้มีการจำหน่ายแจกจ่ายในท้องตลาด - สารพิษที่กำลังจะถูกจำหน่ายในท้องตลาด

  31. การทดสอบการก่อกลายพันธุ์การทดสอบการก่อกลายพันธุ์ • การเลี้ยงเชื้อแบคทีเรียบนจานเลี้ยงเชื้อ • การทดสอบในแมลงที่นิยมใช้คือ แมลงหวี่ • การทดสอบในสัตว์เลือดอุ่นที่นิยมใช้คือ หนูถีบจักร • การทดสอบการก่อลูกวิรูป -การทดสอบความเป็นพิษของสารพิษที่ก่อให้เกิดความพิการของสัตว์ทดลองอย่างน้อย 2 ชนิดซึ่งเป็นสัตว์เลือดอุ่น • การทดสอบผลต่อการสืบพันธุ์ -สัตว์เลือดอุ่นอย่างน้อย 1 ชนิดใน 2 ชนิด • การทดสอบเมตาบอลิซึม -คาร์บอน 14

  32. หน่วยที่ 2 หลักการเบื้องต้นของกลไกการเกิดพิษ • ตอนที่ 2.1 กลไกการเกิดพิษ วัตถุประสงค์ 1.อธิบายการเกิดพิษที่เซลล์ได้ 2.อธิบายการเกิดพิษที่อวัยวะและระบบของร่างกายที่สำคัญได้

  33. เรื่องที่ 2.1.1 การเกิดพิษที่เซลล์ • เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ • เยื่อหุ้มเซลล์ (Plasma membrane)

  34. ผนังเซลล์ (Cell wall) - พบเฉพาะในเซลล์พืช • นิวเคลียส (Nucleus) - ควบคุมการทำงานที่เกี่ยวกับการแบ่งเซลล์ และการสืบพันธุ์ของเซลล์โดยใช้โครโมโซมควบคุมการทำงานต่างๆ

  35. ไซโตพลาสซึม (Cytoplasm) • เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม (Endoplasmic Reticulum: ER) - RER มีไรโบโซมมาเกาะทำหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนและลำเลียงสารไปสู่ส่วนต่างๆของเซลล์ ผ่านกอลไจบอดี - SER ไม่มีไรโบโซมมาเกาะ พบมากในเซลล์ที่มีการกำจัดสารพิษ • ไรโบโซม (Ribosome)

  36. กอลไจบอดี (Golgi body) -สร้างคาร์โบไฮเดรต และขับสารประกอบ

  37. ไมโตคอนเดรีย (Mitochondria) -พบเฉพาะในเซลล์ยูคาริโอต -สร้างสารที่ให้พลังงานสูงในเซลล์คือ ATP -เยื่อหุ้มด้านนอกสร้างฟอสโฟลิพิด • พลาสติด (Plastids) -พบเฉพาะในเซลล์พืชและสาหร่าย -คล้ายไมโตคอนเดรีย • ไลโซโซม (Lysosome) -ย่อยสลาย

  38. เพอรอกซิโซม (Peroxisome) -มีเอนไซม์ที่ทำลายสารประกอบของไนโตรเจนและสารอื่นที่เป็นอันตรายต่อเซลล์ • ไซโตสเกเลตัน (Cytoskeleton) -รักษารูปร่างของเซลล์ และตรึงออแกแนลล์ต่างๆ -ประกอบด้วยเส้นใย 3 ชนิด 1.แอกตินฟิลาเมนต์ 2.อินเตอร์มีเดียตฟิลาเมนต์ 3.ไมโครทูบูล

  39. ซิเลีย (Cilia) และแฟลกเจลลา (Flagella) -ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว • เซนตริโอล (Centriole) -พบเฉพาะในเซลล์สัตว์ -ช่วยการเรียงตัวของไมโครทิวบูล -ควบคุมการเคลื่อนที่ของโครโมโซมขณะที่เซลล์แบ่งตัว • แวคคิวโอล (Vacuole) -พบในเซลล์พืช -ทำหน้าที่ควบคุมการเข้าออกของสาร

  40. แวคคิวโอล (Vacuole) -พบในเซลล์พืช -ทำหน้าที่ควบคุมการเข้าออกของสาร • เวสิเคิล (Vesicle) -พบในเซลล์ยูคาริโอต -ขนส่งสารทั้งภายในเซลล์และเข้า-ออกจากเซลล์

  41. ลักษณะการออกฤทธิ์ของสารพิษลักษณะการออกฤทธิ์ของสารพิษ • สารพิษที่สามารถออกฤทธิ์ได้ด้วยตนเอง 2. สารพิษที่สามารถออกฤทธิ์ได้ต่อเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง แบ่งได้ 2 ลักษณะ 2.1 ลักษณะโครงสร้างใหม่อิเล็กโทรไฟล์ 2.2 ลักษณะโครงสร้างใหม่อนุมูลอิสระ - อนุมูลอิสระออกซิเจน • Inflammation - อนุมูลอิสระจากสารพิษ

  42. การเกิดพิษที่เยื่อหุ้มเซลล์ การเกิดพิษที่เยื่อหุ้มเซลล์ • การทำลายส่วนของเยื่อหุ้มเซลล์ที่เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัว -Na+,Ca2+เข้าเซลล์ การบวมน้ำ -ยับยั้งการทำงานของไมโตคอนเดรีย • การทำลายส่วนของเยื่อหุ้มเซลล์ที่เป็นโปรตีน • การจับกับตัวรับบนเยื่อหุ้มเซลล์ 3.1 การจับกับตัวรับแล้วเกิดพิษแก่เซลล์นั้นเอง 3.2 การจับกับตัวรับรู้แล้วทำให้เกิดความเสียหายแก่หน้าที่ของเซลล์นั้น

  43. การเกิดพิษที่เยื่อหุ้มออร์แกแนลล์การเกิดพิษที่เยื่อหุ้มออร์แกแนลล์ -เกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีและสรีรวิทยาและนำไปสู่การตายของเซลล์ในที่สุด • การเกิดพิษที่ออร์แกแนลล์ภายในเซลล์ 1.การเกิดพิษที่นิวเคลียส -ยับยั้งการสร้างโปรตีนภายในเซลล์ -ทำลายโครงสร้างทางชีวเคมีของDNAในเซลล์ 2.การเกิดพิษที่เอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม -การทำลายเยื่อหุ้มโดยตรง -การทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีขององค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกับเยื่อเอนโดพลาสมิกเรติคิวลัม

  44. 3. การเกิดพิษที่ไมโตคอนเดรีย -ทำให้เอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างATPทำงานผิดปกติไป 4. การเกิดพิษที่ไลโซโซม -เมื่อมีการแตกสลายของเยื่อหุ้ม จะทำให้เอนไซม์ออกมาย่อยสารชีวเคมีในไซโตพลาสซึม นิวเคลียสและออร์แกแนลล์ชนิดต่างๆภายในเซลล์ การย่อยสลายตัวเอง (Autolysis)

  45. เรื่องที่ 2.1.2 การเกิดพิษในอวัยวะและระบบของร่างกาย • อวัยวะที่สำคัญของมนุษย์ • ผิวหนัง -ป้องกันการบาดเจ็บและติดเชื้อจุลินทรีย์ -รับความรู้สึก -หลั่งเหงื่อเพื่อระบายความร้อนและควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย และหลั่งสารบางอย่าง

  46. กระดูก -โครงกระดูกแกนกลาง >>กะโหลกศีรษะ กระดูกสันหลัง กระดูกซี่โครง -โครงกระดูกแขนง >>ช่วงไหล่ออกไปแขนและมือ กระดูกเชิงกรานลงไปขาและเท้า • กล้ามเนื้อ -กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อหัวใจ กล้ามเนื้อเรียบ

  47. อวัยวะในการย่อยอาหาร -ช่องปาก -กระเพาะอาหาร -ลำไส้เล็ก ตับกำจัดและทำลายสารพิษ • อวัยวะในการขับถ่ายของเสีย -ทวารหนัก กำจัดของแข็ง -ไตกำจัดของเหลว -ปอดกำจัดก๊าซ

  48. อวัยวะในการหายใจ -ปอด • หัวใจและหลอดเลือด -หัวใจ -หลอดเลือด -กระแสโลหิต >เม็ดเลือด Hbขนส่งออกซิเจนไปให้เซลล์ต่างๆ >พลาสมา

  49. อวัยวะในการสืบพันธุ์ • อวัยวะในการสืบพันธุ์ของเพศชาย -อัณฑะTestosterone,Estrogen กระตุ้นการสร้างอสุจิและควบคุมลักษณะของเพศชาย • อวัยวะในการสืบพันธุ์ของเพศหญิง -รังไข่Progesterone,Estrogen กระตุ้นผนังมดลูกและต่อมน้ำนมให้ขยายตัวเพื่อเตรียมพร้อมถ้าไข่ได้รับการปฏิสนธิ

More Related