1 / 38

Storage Systems

Storage Systems. Chapter 11. Storage System. to store materials for a period time and permit access to those materials when required. Type of material. Raw material Purchased parts Work in process Finished product Rework and scrap Refuse Tooling Spare parts Offices Supplies

adelio
Télécharger la présentation

Storage Systems

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Storage Systems Chapter11 Storage System

  2. Storage System • to store materials for a period time and permit access to those materials when required. • Type of material • Raw material • Purchased parts • Work in process • Finished product • Rework and scrap • Refuse • Tooling • Spare parts • Offices Supplies • Plant records Storage System

  3. Storage system performance • Various measure used to assess the performance of a storage system include: • Storage capacity • Density • Accessibility • Throughput • Utilization • Reliability (5) และ (6) ใช้สำหรับ เครื่องจักรกล และ ระบบอัตโนมัติ Storage System

  4. Storage system performance • Storage capacity สามารถวัดประสิทธิภาพใน 2 แบบ • Total volumetric space available • Total number of storage compartment in the system โดยทั่วไปแล้ว capacity ควรที่จะมากกว่า จำนวนมากที่สุดของ loads ที่จะต้องเก็บ Storage System

  5. Storage system performance • Storage density คือ ปริมาตรของพื้นที่ว่างที่ใช้เก็บวัสดุจริง ซึ่งสัมพันธ์กับ ปริมาตรของพื้นที่ว่างโดยรวมในพื้นที่เก็บวัสดุของโรงงาน • บางครั้งเราจะใช้ Floor area เพื่อวัด Storage density เพราะว่าเป็นสามารถคำนวณได้สะดวก • Storage ที่ดีควรถูกออกแบบเพื่อให้ได้ high density • Accessibility หมายถึง ค่าที่วัดความสามารถของระบบจัดเก็บเพื่อให้สามารถนำ load เข้าไปในพื้นที่จัดเก็บได้สะดวกแค่ไหน Storage System

  6. Storage system performance • System throughput หมายถึง ผลผลิตของระบบซึ่งวัดจากอัตรารับและเรียกคืนต่อชั่วโมงของระบบจัดเก็บ • Receives and puts loads into storage and/or • Retrieves and delivers loads to the output station • Storage or Retrieval ประกอบด้วย • Pick up load at input station • Travel to storage location • Place load into storage location • Travel back to input station Storage System

  7. Storage system performance • Measures ที่ใช้กับเครื่องจักรกล และระบบจัดเก็บอัตโนมัติ คือ • Utilization คือ สัดส่วนของเวลาที่ระบบใช้ในการจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุ กับเวลาทั้งหมดที่มี • Availability ใช้วัดความน่าเชื่อถือของระบบ ซึ่งเป็นสัดส่วนของเวลาที่ระบบดำเนินการ (not broken down) เปรียบเทียบกับเวลาที่ได้ถูกกำหนดไว้ทั้งหมดเพื่อให้ระบบปฏิบัติงาน (ชม.) Storage System

  8. Storage location strategies • สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลยุทธ์ คือ • Randomized storage; items จะจัดเก็บไว้ในตำแหน่งใดๆ ก็ได้ใน storage system • Dedicate storage; กำหนดตำแหน่งเฉพาะให้กับ item • จำนวนชนิดของวัสดุที่เก็บใน Warehouse เราเรียกว่า “stock-keeping-unit (SKU)” Storage System

  9. Storage location strategies • หลักการพื้นฐานสำหรับตำแหน่งการเก็บวัสดุ คือ • Item ถูกเก็บใน part number หรือ product number ตามลำดับ • Item ถูกเก็บตาม Activity Level • Item ถูกจัดเก็บตาม Activity to space ratios. ค่า ratio ที่มีค่าสูง ตำแหน่งที่เก็บ item นั้นจะใกล้ กับ input/output station Storage System

  10. Storage location strategies • Ex 11.1 Suppose that a total of 50 SKUs must be stored in a storage system. For each SKU, average order quantity = 100 cartons, average depletion rate = 2 cartons/day. And safety stock level = 10 cartons. Each carton requires one storage location in the system. Based on this data, each SKU has an inventory cycle that lasts 50 days. Since there are 50 SKUs in all, management the scheduled incoming orders so that a different SKU arrives each day. Storage System

  11. Storage location strategies • Ex 11.1 (cont.)Determine the number of storage locations required in the system under two alternative strategies: • Randomized storage • Dedicated storage Storage System

  12. Automated storage system • Mechanized and automated storage system • มีจุดประสงค์เพื่อลดปริมาณของคนงานหรือไม่ให้มีคนงานในระบบ • Automation varies; less-automated systems • ยังต้องการคนงานในการนำ load เก็บ-เรียกคืน, high automated ใช้คอมพิวเตอร์ควบคุม Storage System

  13. Automated storage/retrieval system • วัตถุประสงค์ของระบบอัตโนมัติ Storage System

  14. Automated storage/retrieval system (AS/RS) • AS/RS สามารถจัดเก็บและเรียกคืนวัสดุ ด้วยความเที่ยงตรง ถูกต้อง และรวดเร็ว • Operations are totally automated ใช้คอมพิวเตอร์ควบคุม และเชื่อมโยงโดยตรงกับ warehouse กับ factory • AS/RS ประกอบด้วย rack structure , storage/retrieval mechanism (S/R) Storage System

  15. Automated storage/retrieval system Storage System

  16. Automated storage/retrieval system (AS/RS) • Characteristicof AS/RS Storage System

  17. AS/RS types and applications • Unit load AS/RS • ระบบแบบ Unit load คือการขนถ่ายวัสดุที่เป็น Pallet, ภาชนะบรรจุ, ถุง หรือกล่องต่างๆ (Package) ที่มีขนาดมาตรฐาน • ระบบ AS/RS แบบ Unit load จะทำงานที่น้ำหนักของวัสดุต่อ 1 หน่วย มีค่าตั้งแต่ 1,000 ปอนด์ขึ้นไป • ระบบประกอบไปด้วยการควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์, S/R Machine ที่จะเคลื่อนที่ไปตามรางและมีระบบเลื่อนสำหรับรับ-ส่งวัสดุ • เป็นระบบอัตโนมัติขนาดใหญ่ Storage System

  18. Unit Load Automated Storage & Retrieval Systems (AS/RS) Storage System

  19. Unit load AS/RS Storage System

  20. AS/RS types and applications • Deep-lane AS/RS • ระบบแบบ deep-lane ใช้กับการจัดเก็บที่มีความหนาแน่นสูง มีปริมาณสินค้าคงคลังสูง แต่ชนิดของสินค้า (SKUs) น้อย • การทำงานค่อนข้างเหมือนกับระบบ Unit-load แต่ใน 1 ช่องจัดเก็บมีความลึกสามารถจัดเก็บได้มากกว่า 1 หน่วย • ชั้นวางมีการออกแบบให้น้ำหนักบรรทุกไหลเข้าไป (Flow-Through designed) โดยแต่ละ rack ออกแบบให้ flow-through • การจัดเก็บวัสดุทำงานด้านหนึ่ง ส่วนการรับวัสดุจะทำงานอีกด้านหนึ่ง • การออกแบบ S/R Machine สำหรับระบบ deep-lane เมื่อ S/R Machine เข้าไปยังจุดจัดเก็บโดยการส่งพาหนะเข้าไปในชั้นวางตามความลึกที่ต้องการ (Rack-entry Vehicle) วางวัสดุลง และกลับมายัง S/R Machine • สามารถเก็บ load ได้ 10 หรือมากกว่า ใน single rack Storage System

  21. Deep-Lane AS/RS Storage System

  22. AS/RS types and applications • Miniload AS/RS • ระบบแบบ miniload ใช้สำหรับการขนถ่ายวัสดุที่มีขนาดบรรทุกน้อยๆ เช่น ชิ้นส่วนจะมีการบรรจุวัสดุหรือสินค้าหลายชนิดใน 1 ภาชนะบรรจุ (Container) • ใช้กับ load ขนาดเล็กซึ่งบรรจุในถังเก็บภายในระบบจัดเก็บ • น้ำหนักของวัสดุต่อหนึ่งภาชนะบรรจุ มีค่าต่ำกว่า 750 ปอนด์ มีความหนาแน่นของการจัดเก็บสูง • และโดยทั่วไปจะติดตั้งในอาคารที่สร้างอยู่ก่อนแล้ว มีขนาดที่ความสูงไม่เกิน 30 ฟุต ลักษณะและขนาดของภาชนะบรรจุ ขึ้นอยู่กับการจัดเก็บในแต่ละสถานที่ • ระบบการทำงาน S/R Machine จะทำการเคลื่อนที่รับ-ส่ง ลังหรือกล่องไปที่จุดรับ-ส่ง (P/D station) และชิ้นส่วนหรือสิ่งของที่อยู่ในลังจะสามารถหยิบออกไปเพียงบางชิ้นหรือทั้งหมดก็ได้ • ในระบบ miniload ที่จุดรับ-ส่งมีคนงานที่ทำหน้าที่การรับและส่งวัสดุจาก S/R Machine Storage System

  23. Mini Load Automated Storage & Retrieval Systems (AS/RS) Storage System

  24. AS/RS types and applications • Man-on-board AS/RS • ระบบแบบ man-on-board หรือที่เรียกว่า man-aboard เป็นการแก้ปัญหาความต้องการการรับวัสดุแบบเจาะจงจากการจัดเก็บ • ในระบบนี้ผู้ทำงานจะควบคุมอยู่บน S/R Machine ใช้คนในการขับเคลื่อน S/R machine มีการหยิบวัสดุแต่ละชิ้นจากตำแหน่งที่เก็บได้โดยตรง • ความแตกต่างกับระบบ miniload คือ ไม่จำเป็นต้องนำลังหรือกล่องออกมายังจุดรับ-ส่ง แล้วนำเข้าไปเก็บ แต่ผู้ทำงานสามารถหยิบสิ่งที่ต้องการออกมาจากจุดจัดเก็บได้ในทันที ซึ่งหมายถึงการเพิ่มประสิทธิภาพเวลาการทำงาน Storage System

  25. Man-On-Board AS/RS Storage System

  26. AS/RS types and applications • Automated item retrieval system • ระบบแบบ Automated item retrieval มีการออกแบบให้สามารถรับวัสดุเฉพาะ โดยใช้การทำงานออกแบบชั้นวางแบบ Flow-through ให้การจัดเก็บวัสดุทางด้านหลัง และรับวัสดุออกทางด้านหน้า ด้วยการผลักบนชั้นวางแบบ flow-through ให้วัสดุไหลไปบนสายพานลำเลียง • การจัดเก็บสามารถทำงานได้แบบ FIFO • ใช้สำหรับวัสดุเป็นชิ้นๆ หรือ load ที่มีขนาดเล็กที่เก็บในกล่อง Storage System

  27. AS/RS types and applications • Vertical lift storage modules (VLSM) • ระบบแบบ Vertical lift storage systems หรือ Vertical lift automated storage/retrieval systems (VL-AS/RS) แตกต่างจาก AS/RS ทั่วๆไปที่ออกแบบไปตามแนวขวาง • แต่ VL-AS/RS ออกแบบให้ระบบมีความสูงมาก โดยทั่วไปสูงตั้งแต่ 10 เมตร (30 ft) หรือมากกว่า • ทำให้สามารถจัดเก็บได้ปริมาณมาก แต่ใช้พื้นที่น้อย • ใช้หลักการเหมือนแบบอื่นๆ คือ เข้าไปรับ load ตามช่องทางตรงกลาง • ยกเว้นมันมีช่องทางในแนวตั้ง • สามารถเก็บพัสดุขนาดใหญ่ได้ • ระบบนี้ช่วยประหยัดพื้นที่ว่างบนพื้นโรงงาน Storage System

  28. AS/RS types and applications • AS/RS ใช้ใน warehousing และ distribution operation • AS/RS ถูกใช้เก็บ raw material และ WIP • สามารถแยกการใช้งานออกเป็น 3 ประเภท • Unit load storage and handling • Order picking • WIP storage systems Storage System

  29. AS/RS types and applications • Unit load storage • พบในระบบ Unite load AS/RS และ Deep-Lane storage system • ใช้ในระบบ warehouse, distribution center สำหรับเก็บ finish good • Order picking • เพื่อจัดเก็บและเรียกคืนในจำนวนที่น้อยกว่าจำนวนของ unit load • Miniload, man-on-board Storage System

  30. AS/RS types and applications • WIP storage • เหมาะกับ batch และ job shopproduction • เหตุผลสนับสนุนให้ติดตั้ง AS/RS เพื่อเก็บ WIP • Buffer storage in production ถูกใช้เมื่ออัตราการผลิตในแต่ละ station มีความแตกต่างกัน • Support of just-in-time delivery เพื่อให้ส่งมอบ part ได้ตรงเวลา บางครั้งต้องมีการติดตั้งระบบอัตโนมัติ Storage System

  31. AS/RS types and applications • Kitting of parts for assembly • ใช้สำหรับเก็บชุดเครื่องมือสำหรับประกอบ เมื่อมีการเรียกใช้จะส่งมอบไปที่พื้นที่การผลิต • Compatible with automatic identification system • ใช้งานร่วมกับระบบ barcode • Computer control and tracking of material • สามารถระบุตำแหน่งของวัสดุได้ • Support of factory-wide automation • เป็นส่วนสำคัญของระบบอัตโนมัติทั้งโรงงาน Storage System

  32. Components and operating features of an AS/RS • AS/RS ประกอบด้วย • Storage structure ซึ่งก็คือ rack framework ทำมาจาก steel ใช้สำหรับรองรับ load ที่บรรจุใน AS/RS การออกแบบ จะต้องสามารถรองรับ Storage modules ที่บรรจุวัสดุที่จะจัดเก็บได้ • The S/R machine จะจัดส่ง load จากสถานีป้อนเข้าสู่แหล่งเก็บ หรือเรียกคืน load เพื่อส่งไปยัง P&D station Storage System

  33. Components and operating features of an AS/RS • The carriage includes a shuttle mechanism ใช้เพื่อหยิบ load เอาเข้าไปในที่เก็บหรือเอาออกจากที่เก็บ • Storage modules เป็น unit load containers ของวัสดุที่จะจัดเก็บ ต้องมีขนาดมาตรฐาน • The pick-and-deposit station (P&D station) เป็นที่ซึ่ง load จะเข้าหรือออกจาก AS/RS โดยมีวิธีการขนส่ง load/unload คือ ใช้คน, fork lift truck, conveyor และ AGVs. Storage System

  34. Carousel storage systems • ประกอบด้วย series ของ bins หรือ baskets ซึ่งแขวนอยู่กับ overhead chain conveyor • Chain conveyor คือ ตำแหน่งของ bins ที่ load/unload station ซึ่งมีลักษณะวงรี • จะมีคนงานประจำอยู่ที่ load/unload station เพื่อให้ ส่งมอบ bins ไปที่ station • Automated จะใช้ mechanism ในการเคลื่อนย้าย ที่ load/unload station ไปยัง carousel Storage System

  35. Carousel storage systems Storage System

  36. Carousel technology • ประกอบด้วยโครงกรอบ welded steel ซึ่งมีระบบสนับสนุนคือ oval rail system • สามารถเป็นได้ทั้ง overhead system หรือ floor-mounted system(อาจเรียกว่า bottom driven unit) • การควบคุม carousel storage system จาก manual call control ไปจนถึง computer control. Storage System

  37. Carousel Applications • การใช้งานระบบ carousel มีดังต่อไปนี้ • Storage and retrieval operations เมื่อชิ้นส่วนย่อยจะต้องถูกเลือกออกมาจากกลุ่มที่จัดเก็บ บางครั้งเรียกว่า “pick and load” • Transport and accumulation ตัวอย่าง workstation อยู่รอบ carousel คนงานจะเข้ามาหยิบชิ้นส่วนในถึงเก็บของ carousel ไปที่สถานีประกอบ Storage System

  38. Carousel Applications • Work in process เป็นที่จัดเก็บชั่วคราว ซึ่ง carousel มักใช้กับ electronics industry • Unique applications เกี่ยวกับการใช้งานลักษณะเฉพาะของ ระบบ carousel เช่น electrical testing of components ที่ซึ่ง carousel ถูกใช้เพื่อจัดเก็บ item ระหว่าง testing สำหรับช่วงเวลาเฉพาะ Storage System

More Related