1 / 4

1. วัฏภาค ( Phase )

2. ของแข็ง. 1. วัฏภาค ( Phase ). สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว ( ∆ H fus ) < ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ ( ∆ H vap ) เราสามารถใช้ phase diagram ในการบอกวัฎภาคของสารที่ T และ P ต่างๆ ได้

allene
Télécharger la présentation

1. วัฏภาค ( Phase )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 2. ของแข็ง 1. วัฏภาค (Phase) • สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค • ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว (∆Hfus) < ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ (∆Hvap) • เราสามารถใช้ phase diagram ในการบอกวัฎภาคของสารที่ T และ P ต่างๆ ได้ • จุดเดือดของการต้มน้ำบนยอดเขาสูงจะต่ำกว่าบนพื้นราบ (ความร้อนที่จุดเดือดน้อยลง) • น้ำแข็งแห้งระเหิดเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์โดยไม่ผ่านวัฏภาคของเหลว

  2. 2. ของแข็ง (Solid) ของแข็งอสัณฐาน & ของแข็งที่เป็นผลึก หน่วยที่เล็กที่สุดของผลึกคือ unit cell การบรรจุทรงกลมในเซลล์ - แบบลูกบากศ์ 3 แบบ ได้แก่ scc, bcc & fcc (or ccp) - แบบชิดที่สุด 2 แบบ ได้แก่ hcp & ccp (or fcc) ปริมาตรของอะตอมทั้งหมดในหน่วยเซลล์ = จำนวนอะตอมทั้งหมด x (4/3)pr3 ผลึกมี 4 ประเภท คือ ไอออนิก(เกลือ) โควาเลนต์(คาร์บอน) โลหะ และโมเลกุล(น้ำแข็ง) Unit cell ของผลึกไอออนิก NaCl ZnS CeCl และ CaF2 2. ของแข็ง 2

  3. 3. ของเหลวและสารละลาย (Liquid & Solution) กระบวนการละลาย ∆Hsolution = ∆H1 + ∆H2 + ∆H3 => ∆Hsolution > 0 การเกิดสารละลายดูดความร้อน => ∆Hsolution < 0 การละลายคายความร้อน (เมื่อ ∆H1 & ∆H2 => สลายพันธะ ส่วน ∆H3สร้างพันธะ) สภาพการละลาย (s) - ของแข็ง = T เพิ่ม s เพิ่ม (ดูดความร้อน) และ T เพิ่ม s ลด (คายความร้อน) - T เพิ่ม s ของแก๊สลด แต่ P เพิ่ม s ของแก๊สเพิ่ม หลักการของการกลั่นลำดับส่วน สมบัติคอลลิเกทีฟของสารละลาย - การลดความดันไอ การเพิ่มจุดเดือด การลดจุดเยือกแข็ง ความดันออสโมซิส 2. ของแข็ง www.chem.sci.ubu.ac.th ไปที่ e-learning 3

  4. 4. แก๊ส (Gas) กฎของบอยล์V α 1/P หรือ P1V1 =P2V2 กฎของชาร์ลและเกย์-ลูสแซคV α T หรือ V1 / T1 =V2 / T2 สมการของแก๊สสมบูรณ์แบบPV = nRT หรือ (P1V1) / T1 = (P2V2) / T2 ความหนาแน่นของแก๊สd = m/v = PM / RT สมการของแก๊สจริง ความดันของแก๊สจริง ต่ำกว่า ความดันของแก๊สสมบูรณ์แบบ แก๊สสมบูรณ์แบบPV/RT= 1 เมื่อ P เข้าใกล้ศูนย์ แก๊สทุกชนิดแสดงพฤติกรรมคล้ายแก๊สสมบูรณ์แบบ คือ PV/RT เข้าใกล้ 1 2. ของแข็ง 4

More Related