1 / 36

Colour

Colour. สี องค  ประกอบแห  งอารมณ  : Colour. สีมีอิทธิพลในเรื่องของอารมณ  การสื่อความหมายที่เด  นชัด และกระตุ  นต  อการรับรู  ของคนเราได  เป  นอย  างดี. องค  ประกอบสีในงานออกแบบนั้น มีคุณสมบัติอยู  3 ประการ คือ. 1 . สี , เนื้อสี ( Hue ) 2 . น้ำหนักสี ( Value / Brightness )

anthea
Télécharger la présentation

Colour

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Colour

  2. สี องคประกอบแหงอารมณ : Colour สีมีอิทธิพลในเรื่องของอารมณการสื่อความหมายที่เดนชัด และกระตุนตอการรับรูของคนเราไดเปนอยางดี องคประกอบสีในงานออกแบบนั้น มีคุณสมบัติอยู 3 ประการ คือ 1. สี, เนื้อสี (Hue) 2. น้ำหนักสี (Value / Brightness) 3. ความสดของสี (Intensity / Saturation)

  3. สี,เนื้อสี HUE เนื้อสี หรือ Hue คือความแตกตางของสีบริสุทธิ์แตละสี ซึ่งเราจะเรียกเปนชื่อสี เชน สีแดง สีน้ำตาล สีมวง เปนตน โดยแบงเนื้อสีออกเปน 2 ชนิด ดวยกันคือ สีของแสง (Coloured Light) สีของสาร (Coloured Pigment)

  4. การผสมสี จากการที่เรามองเห็นสีของสารตาง ๆ นี่เอง จึงคนพบวามีสีอยู 3 สีที่เปนตนกําเนิดของสีอื่น ๆ ที่ไมสามารถสรางหรือผสมใหเกิดจากสีอื่นได หรือที่เราเรียกกันวา “แมสี” ไดแก แดง, เหลือง, น้ำเงิน จริงๆแล้วสีที่เรามองเห็นเกิดจาการผสมสี ใน 2 รูปแบบคือ additive colours Subtractive colours

  5. วงจรสี (Colour Wheel) วงจรสีนั้นก็คือการวางเนื้อสี Hue ที่เราพูดกันมากอนหนานี้ โดยเรียงกันตามการผสมสีของสารที่เรามองเห็น โดยตัวอยางของแบบจําลองวงจรสีที่จะหยิบยกมาศึกษากันนี้ เปนแบบ 12 สีมาตรฐานที่ใชกันอยูในปจจุบัน

  6. วงจรสี (Colour Wheel)

  7. สีโทนรอน – สีโทนเย็น เรื่องของสีอีกเรื่องหนึ่งซึ่งเปนเรื่องสําคัญในการออกแบบคือ เรื่องของเนื้อสีที่แบงออกเปน 2 กลุมตามอุณหภูมิของสีคือ สีโทนรอนและสีโทนเย็นโดยจะสังเกตไดงายในวงจรสี ► สีโทนรอน ใหความรูสึกมีพลัง อบอุนสนุกสนาน และดึงดูดความนา สนใจไดดี ► สีโทนเย็น ใหความรูสึก เรียบ สงบ เยือกเย็น ลึกลับ มีระดับ

  8. การเลือกใช้โทนสีที่ให้ความรู้สึกอบอุ่นการเลือกใช้โทนสีที่ให้ความรู้สึกอบอุ่น Artist: Jan VermeeTitle: Girl Asleep at a Table Year: 1657Form of Art: realisticColor Scheme: warm (red, red-orange, orange, yellow-orange, yellow and values)

  9. การเลือกใช้โทนสีที่ให้ความรู้สึกเย็นการเลือกใช้โทนสีที่ให้ความรู้สึกเย็น Artist: Pablo PicassoTitle: Femme Allonge Lisant (Marie-Thrse)Year: 1939Form of Art: abstractColor Scheme: cool (yellow-green, green, blue-green, blue-purple and values)

  10. น้ำหนักสี Value • น้ำหนักสีก็คือ เรื่องของความสวางของสี หรือการเพิ่มขาวเติมดําลงในเนื้อสีที่เรามีอยู และการปรับเปลี่ยนน้ำหนักของสีนี่เองที่ทําใหภาพดูมีมิติ ดูมีความลึก หรือที่เราเรียกกันวา โทน Tone • น้ำหนักสีของสาร เราจะเรียกวา น้ำหนักสี Value สวนน้ำหนักสีของแสงนั้น เราจะเรียกวาความสวาง Brightness

  11. น้ำหนักของสี (Value) • น้ำหนักของสี คือความสว่างของสี หรือการเพิ่มขาว เติมดำลงไปในเนื้อสี การปรับเปลี่ยนน้ำหนักของสีจะทำให้ภาพดูมีมิติ มีความลึก ค่าสีน้ำหนักสูง ความสว่างต่ำ ค่าสีน้ำหนักปานกลาง ความสว่างปานกลาง ค่าสีน้ำหนักต่ำ ความสว่างสูง

  12. น้ำหนักสี Value ► การปรับเปลี่ยนน้ำหนักสี ทํา ใหภาพ 2 มิติ มีความลึกเปน 3 มิติ ►คาความสวางนี้เราจะเรียก กันวา “โทน Tone” ซึ่งกําหนด ความมีมิติ หรือ ความลึกให้ภาพ

  13. ความสดของสี Intensity / Saturation การลดความสดของสีก็เพื่อไมใหภาพงานที่ออกมานั้นดูฉูดฉาด จนเกินไป เรียกอีกอยางวา เปนการเบรกสี 1. ศิลปนมักจะใชสีน้ำตาลเติมลงในสีที่ต้องการให้ความสด ของสีนอยลงนั่นเอง 2. ปจจุบันเราใชคอมพิวเตอรในการออกแบบการลดความสด ของสีลง เช่น Photoshop คลิกเมนู Image>Adjust>Hue & Saturation หรือกดคีย <Ctrl+U>

  14. ความสดของสี Intensity / Saturation ► ภาพกอนทําการลดความสด Saturation ของสี ► ภาพหลังทําการลดความสด Saturation ของสี

  15. การเลือกสีมาใชงานColour for Design • การเลือกเนื้อสี Choose Hue • การเลือกน้ำหนักสี Choose Value • การเลือกความสดของสี Choose Saturation

  16. การเลือกเนื้อสี Choose Hue ในการเลือกเนื้อสีมาใชงานเราจะเลือกจาก 1. ความหมายของเนื้อสีแตละสี เช่น สีเงินจะนึกถึงสิ่ง ใหม่ๆ ความทันสมัย 2. เลือกเนื้อสีที่อยูดวยกันแลวดูดีดูเหมาะสม และ คำนึงถึงผู้ใช้งาน (User Target) เช่น ถ้าออกแบบงาน ที่ใช้กับเด็ก ควรเลือกใช้แม่สี เพื่อให้เด็กสังเกตและ รับรู้ได้ง่าย

  17. ความหมายของสี • สีแดง อ้างอิงมาจากไฟ จึงให้อารมณ์ของความร้อน พลัง พลังงาน ความแรง และความเป็นมงคลตามความเชื่อของชาวจีน • สีเหลือง ให้ความสดใส ปลอดโปร่ง ดึงดูดสายตา • สีน้ำเงิน ให้ความสงบเรียบ สุขุม มีราคา หรูหรามีระดับ บางครั้งสื่อถึงความสุภาพ หนักแน่น ผู้ชาย • สีส้ม ให้ความรู้สึกดึงดูด ทันสมัย สดใส กระฉับกระเฉง มีพลัง • สีม่วง ให้อารมณ์หนักแน่น มีเสน่ห์ ความลับ สิ่งที่ปกปิด

  18. ความหมายของสี • สีเขียว ให้ความรู้สึกสดชื่น ธรรมชาติ เย็นสบาย • สีชมพู ให้ความอ่อนหวาน นุ่มนวล ความรัก วัยรุ่น ผู้หญิง • สีน้ำตาล ให้ความสงบ ความเรียบ ความเป็นผู้ใหญ่ ความเก่าแก่โบราณ บางครั้งสื่อถึงไม้ แมกไม้ • สีฟ้า ให้ความรู้สึกโปร่งโล่งสบายตา นุ่มนวล สุขสบาย • สีเงิน ให้ความรู้สึกถึงสิ่งใหม่ ๆ ทันสมัย มีคุณค่า มีราคา

  19. ความหมายของสี • สีทอง เป็นตัวแทนของความมีคุณค่า ความหรูหรา ราคาแพง • สีขาว สื่อถึงความบริสุทธิ์ สะอาด เรียบง่าย ความโล่ง ความว่างเปล่า • สีเทา ให้อารมณ์เศร้า หม่นหมอง ไร้ชีวิตชีวา บางครั้งสื่อถึงความเป็นกลาง • สีดำ ซ่อนความไม่รู้ ความน่ากลัว บางครั้ง จะใช้สีดำหรือสีเข้ม เพื่อเน้นขับสิ่งที่อยู่ภายในให้เด่นชัด จึงมักนิยมใช้เป็นสีพื้น

  20. การเลือกน้ำหนักสี Choose Value การเลือกน้ำหนักสีจะเปนขั้นตอนถัดมาหลังจากเราเลือกสีไดแลว น้ำหนักของสีมีอิทธิพลตอความมืดสวางในภาพ ซึ่งใหอารมณของภาพที่แตกตางกันไป

  21. การเลือกความสดของสีChoose Saturation การเลือกความสดของสีเปนเรื่องสุดทายในการเลือกสี เพื่อ ออกแบบงานสีที่มีความสดสูงจะใหความรูสึกรุนแรง ตื่นตัว สะดุดตา ในขณะที่สีที่มีความสดนอยหรือสีหมน จะใหความรู สึกสงบ ไมโดดเดน หมนหมอง เศรา ถาสีที่มีความสดอยูใน ระดับกลางจะใหความรูสึกพักผอน สบายตา

  22. การวางโครงสี Colour Schematic กล่าวคือทฤษฎีสีของการใชสี หรือการเลือกสีมาใชรวมกันใน ภาพ เพื่อใหภาพออกมาดูดี ดูนาพอใจ เรียกวา Colour Schematic หรือการวางโครงสี (ซึ่งบางคนก็คุนกับ คําวา การจับคูสีการเลือกคูสี) Monochrome Analogus Dyads Triads Tetrads

  23. Monochrome • คือโครงสีเอกรงค คือมีเนื้อสี Hue เดียว แตใหความแตกตาง ดวยน้ำหนักสี Value

  24. การวางโครงสี (Color Schematic) การวางโครงสี คือการจับคู่สี หรือเลือกสี เพื่อใช้ร่วมกันในภาพ เพื่อให้ภาพออกมาดูดี ดูน่าพอใจ • Monochrome คือการมีเนื้อสีเดียว แต่ให้ความแตกต่างด้วยน้ำหนักสี การใช้สีแบบนี้ให้อารมณ์ความรู้สึกสุขุม เรียบร้อย เป็นสากล ไม่ฉูดฉาดสะดุดตา

  25. ตัวอย่างภาพแบบ Monochromatic Artist: Marc ChagallTitle: Les Amants Sur Le ToitForm of Art: abstractColor Scheme: monochromatic (blue and values)

  26. Analogus • หรือโครงสีขางเคียง คือสีที่อยูติดกัน อยูขางเคียงกันในวงจรสี จะเปนทีละ 2 หรือ 3 สีหรือบางทีอาจจะใชไดถึง 4 สี แตก็ไมควรมากกวานี้

  27. การวางโครงสี (Color Schematic) • Analogous หรือโครงสีข้างเคียง คือสีที่อยู่ติดกันในวงจรสี จะเป็นทีละ 2 หรือ 3 สี หรืออาจจะถึง 4 สี จะทำให้ภาพโดยรวม ได้อารมณ์ไปในกลุ่มโทนสีนั้น และไม่ดูฉูดฉาดเกินไป

  28. ตัวอย่างภาพแบบ Analogous Artist: Vincent van GoghTitle: The IrisYear: 1889Form of Art: realisticColor Scheme: analogous (yellow, yellow-green, green, blue-green and values)

  29. Dyads • คือโครงสีคูตรงขาม Complementary Colour คือสีที่อยูตรงขามกันในวงจรสี การเลือกใชสีคูตรงขามจะทําใหงานที่ไดมีความสะดุดตาในการมอง • ควรแบงพื้นที่ของสีในภาพของการใชสีใดสีหนึ่งมากกวาอีกสีหนึ่ง โดยประมาณมักจะใชสีหนึ่ง 70% อีกสีหนึ่ง 30% ภาพที่ไดก็จะ คงความมีเอกภาพอยู และยังมีความเดนสะดุดตาไปไดในตัว

  30. การวางโครงสี (Color Schematic) • Complementary Color คือการใช้คู่สีตรงข้าม คือสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงจรสี การเลือกใช้สีคู่ตรงข้ามจะทำให้งานที่ได้มีความสะดุดตาในการมอง แต่ควรระวัง ถ้าใช้สีคู่ตรงข้ามในพื้นที่ใกล้เคียงกัน งานนั้นจะดูไม่มีเอกภาพ โดยทั่วไปควรจะใช้สีหนึ่งประมาณ 70% อีกสี 30%

  31. Dyads ตัวอย่างการออกแบบโดยเลือกใช้สีคู่ตรงข้าม

  32. ตัวอย่างภาพแบบ Complementary Artist: Paul Cezanne Title: La Montage Saint VictoireYear: 1886-88Form of Art: abstractColor Scheme: complementary (blue, orange and values)

  33. Triads Triads หรือโครงสี 3 สี คือ • เปนการใชสี 3 สี ในชวงหางระหวางสีทั้ง 3 เทากัน ถาเราลากเสนระหวางสีทั้ง 3 สี เราจะไดสามเหลี่ยม ดานเทา 2. เปนการใชสี 3 สี ในชวงหางระหวางสีทั้ง 3 ไมเทากัน คือ มีชวงหาง 2 ชวงเทากัน แตกับอีกอันหนึ่งชวงหางจะ ยาวกวา ถาลากเสนระหวางสีแลวจะไดสามเหลี่ยม หนาจั่ว

  34. Triads ตัวอย่างการออกแบบโดยเลือกใช้โครงสี 3 สี

  35. Tetrads Tetrads หรือโครงสี 4 สี คือ • การใชสีในวงจรสี 4 สี โดยเลือกสีที่มีชวงหางระหวางสีเทากันหมด กลาวคือถาเราลากเสนเชื่อมสีทั้ง 4 แลวเราจะได สี่เหลี่ยมจัตุรัส • การใชสีในวงจรสี 4 สี โดยเลือกสีที่มีชวงหางระหวางสีไม่ เทากัน โดยชวงหางของ 2 สีเปนชวงสั้นและอีก 2 สีเปน ชวงยาว กลาวคือถาเราลากเสนเชื่อมสีทั้ง 4 แลวเราจะได้ สี่เหลี่ยมผืนผา

  36. Tetrads ตัวอย่างการออกแบบโดยเลือกใช้โครงสี 4 สี

More Related