1 / 53

การออกแบบท่อลม Duct Design

การออกแบบท่อลม Duct Design. ตัวอย่างสำหรับการออกแบบท่อลม. สำนักงานแห่งหนึ่งต้องการใช้เครื่องปรับอากาศขนาด 5 ตัน ที่มีปริมาณลม 2000 CFM มีจำนวนคนทำงานทั้งหมด 20 คน ข้อกำหนดในการออกแบบท่อลม แรงดันตกในท่อลมไม่เกิน 0.1 นิ้วน้ำ/100 ฟุต ความสูงท่อลมไม่เกิน 20 นิ้ว

banyan
Télécharger la présentation

การออกแบบท่อลม Duct Design

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การออกแบบท่อลม Duct Design

  2. ตัวอย่างสำหรับการออกแบบท่อลมตัวอย่างสำหรับการออกแบบท่อลม • สำนักงานแห่งหนึ่งต้องการใช้เครื่องปรับอากาศขนาด 5 ตัน ที่มีปริมาณลม 2000 CFM มีจำนวนคนทำงานทั้งหมด 20 คน • ข้อกำหนดในการออกแบบท่อลม • แรงดันตกในท่อลมไม่เกิน 0.1 นิ้วน้ำ/100 ฟุต • ความสูงท่อลมไม่เกิน 20 นิ้ว • ฝ้าเพดานภายในห้อง ใช้ฝ้าเพดานทีบาร์ขนาด 120 x 60 ซม. (48” x 24”) • กำหนดให้ระบบระบายอากาศเป็นดังนี้ • ระบบระบายอากาศเสีย = 7 CFM/คน • ระบบอากาศบริสุทธิ์มากกว่าอากาศเสีย 10% ข้อแนะนำ:ตารางการคำนวณทั้งหมดอยู่ใน Index หน้า 53-56

  3. 500 CFM 500 CFM E C 8 ฟุต (2.5 ม.) FAG RAG A B 16 ฟุต (5 ม.) 16 ฟุต (5 ม.) 10 ฟุต (3 ม.) 8 ฟุต (2.5 ม.) D F Fresh Air AHU อากาศบริสุทธิ์ Return Air ลมกลับ Chamber EAG 13 ฟุต (4 ม.) 500 CFM 500 CFM Exhaust Air อากาศเสีย ตัวอย่างผังห้องกับการออกแบบท่อลม หมายเหตุ:เพื่อให้ปริมาณลม 2000 CFM กระจายทั่วห้อง ควรออกแบบให้หัวลมจ่ายมีปริมาณลมเท่าๆ กัน คือ 500 CFM และห่างกันประมาณ 5 เมตร หรือ 16 ฟุต

  4. ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อลม (นิ้ว) ปริมาณลม CFM –CU FT of Air per minute ความเร็วลม (FPM) Friction Loss in Inches of water per 100 Ft (ความดันตก หน่วยนิ้วน้ำ/100 ฟุต) ทำความเข้าใจกับกราฟการคำนวณขนาดท่อลม หมายเหตุ:จาก ปริมาณลมและความดันตก ที่กำหนดไว้ สามารถหา เส้นผ่าศูนย์กลางของท่อลมและความเร็วลม ได้จากกราฟ เพื่อนำไปใช้หา ความดันตกรวมทั้งระบบ และขนาดท่อลมเหลี่ยม รวมทั้งขนาดหัวจ่ายได้

  5. 0.1 20 20 ตารางการคำนวณขนาดท่อลม นำข้อมูลที่มีอยู่ใส่ลงในตารางเพื่อที่จะคำนวณค่าต่างๆ ต่อไป

  6. ปริมาณลมท่อ A 2000 CFM 18 นิ้ว ความเร็วลม 1200 FPM ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อลม 18 นิ้ว แรงดันตก 0.1 นิ้วน้ำต่อ 100 ฟุต 1200 FPM การหาขนาดท่อลมและความเร็วลมที่ตำแหน่ง A **ความเร็วลมในท่อลมจ่ายสำหรับสำนักงานไม่ควรเกิน 1200-2200 FPM** ** ถ้าคำนวณได้เกินค่าที่กำหนดต้องทำการลดความดันตกต่อ 100 ฟุต ลง แล้วทำการคำนวณใหม่ เพื่อไม่ให้ความเร็วลมสูงเกินไป **

  7. 0.1 20 20 ความเร็วลม และ ขนาดท่อลม A นำค่ามาใส่ในตาราง

  8. ปริมาณลมท่อ B 1000 CFM 14 นิ้ว ความเร็วลม 1000 FPM ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อลม 14 นิ้ว แรงดันตก 0.1 นิ้วน้ำต่อ 100 ฟุต 1000 FPM การหาขนาดท่อลมและความเร็วลมที่ตำแหน่ง B **ความเร็วลมในท่อลมจ่ายสำหรับสำนักงานไม่ควรเกิน 1200-2200 FPM** ** ถ้าคำนวณได้เกินค่าที่กำหนดต้องทำการลดความดันตกต่อ 100 ฟุต ลง แล้วทำการคำนวณใหม่ เพื่อไม่ให้ความเร็วลมสูงเกินไป **

  9. 0.1 20 20 ความเร็วลม และ ขนาดท่อลม B นำค่ามาใส่ในตาราง

  10. ปริมาณลมท่อ C-D-E-F 500 CFM 11 นิ้ว ความเร็วลม 800 FPM ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อลม 11 นิ้ว แรงดันตก 0.1 นิ้วน้ำต่อ 100 ฟุต 800 FPM การหาขนาดท่อลมและความเร็วลมที่ตำแหน่ง C-D-E-F **ความเร็วลมในท่อลมจ่ายสำหรับสำนักงานไม่ควรเกิน 1200-2200 FPM** ** ถ้าคำนวณได้เกินค่าที่กำหนดต้องทำการลดความดันตกต่อ 100 ฟุต ลง แล้วทำการคำนวณใหม่ เพื่อไม่ให้ความเร็วลมสูงเกินไป **

  11. 0.1 20 20 ความเร็วลม และ ขนาดท่อลม C-D-E-F นำค่ามาใส่ในตาราง

  12. ความเร็วลม 600 FPM 155 CFM ปริมาณลมท่ออากาศบริสุทธิ์ 155 CFM 7 นิ้ว 600 FPM แรงดันตก 0.1 นิ้วน้ำต่อ 100 ฟุต ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อลม 7 นิ้ว การหาขนาดท่อลมและความเร็วลมที่ตำแหน่งอากาศบริสุทธิ์ หมายเหตุ : ระบบอากาศบริสุทธิ์มากกว่าอากาศเสีย 10% 10%(ปริมาณอากาศเสีย x จำนวนคน) = 1.1 (7 CFM/คน x 20 คน) = 155 CFM **ความเร็วลมในท่อลมอากาศบริสุทธิ์ไม่ควรเกิน 500-800 FPM** ** ถ้าคำนวณได้เกินค่าที่กำหนดต้องทำการลดความดันตกต่อ 100 ฟุต ลง แล้วทำการคำนวณใหม่ เพื่อไม่ให้ความเร็วลมสูงเกินไป **

  13. 0.1 20 20 นำค่ามาใส่ในตาราง; ขนาดท่อลมอากาศบริสุทธิ์

  14. ความเร็วลม 600 FPM 140 CFM ปริมาณลมท่ออากาศเสีย 140 CFM 6.5 นิ้ว 600 FPM แรงดันตก 0.1 นิ้วน้ำต่อ 100 ฟุต ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางท่อลม 6.5 นิ้ว การหาขนาดท่อลมและความเร็วลมที่ตำแหน่งอากาศเสีย หมายเหตุ : อากาศเสีย = 7 CFM/คน ปริมาณอากาศเสีย x จำนวนคน = 7 CFM/คน x 20 คน = 140 CFM **ความเร็วลมในท่อลมอากาศเสียไม่ควรเกิน 500-800 FPM** ** ถ้าคำนวณได้เกินค่าที่กำหนดต้องทำการลดความดันตกต่อ 100 ฟุต ลง แล้วทำการคำนวณใหม่ เพื่อไม่ให้ความเร็วลมสูงเกินไป **

  15. 0.1 20 20 นำค่ามาใส่ในตาราง; ขนาดท่อลมอากาศเสีย

  16. ความกว้างท่อลม = 10 นิ้ว ความสูงท่อลม = 10 นิ้ว ตัวอย่างท่อลมวงกลมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 11 นิ้ว ตารางเปรียบเทียบขนาดท่อลมวงกลมและท่อลมสี่เหลี่ยม หมายเหตุ:แปลงขนาดท่อลมวงกลมเป็นท่อลมสี่เหลี่ยมเพื่อนำไปใช้งานจริง โดยสามารถหาความสูงและความกว้างได้จากตารางแนวนอนและแนวตั้งที่ตัดกัน ณ ตำแหน่งเส้นผ่าศูนย์กลางท่อลมวงกลม **1. ความสูงของท่อต้องไม่เกินข้อกำหนด (20 นิ้ว) 2. ขนาดของท่อสี่เหลี่ยมสามารถเลือกได้หลายขนาด แต่ที่เหมาะสมที่สุดควรจะเลือกให้ได้ขนาดใกล้เคียงสี่เหลี่ยมจัตุรัสมากที่สุด เพื่อประหยัดปริมาณสังกะสี

  17. ความกว้างท่อลม A = 16 ฟุต ความสูงท่อลม A = 17 ฟุต เปลี่ยนขนาดท่อลมวงกลม A เป็นท่อลมสี่เหลี่ยม ท่อลมวงกลม A มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 18 นิ้ว

  18. 0.1 20 20 ขนาดท่อลมสี่เหลี่ยม A นำค่ามาใส่ในตาราง

  19. ความกว้างท่อลม B = 12 ฟุต ความสูงท่อลม B = 14 ฟุต เปลี่ยนขนาดท่อลมวงกลม B เป็นท่อลมสี่เหลี่ยม ท่อลมวงกลม B มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 14 นิ้ว

  20. 0.1 20 20 ขนาดท่อลมสี่เหลี่ยม B นำค่ามาใส่ในตาราง

  21. ความกว้างท่อลม C-D-E-F = 10 ฟุต ความสูงท่อลม C-D-E-F = 10 ฟุต เปลี่ยนขนาดท่อลมวงกลม C-D-E-F เป็นท่อลมสี่เหลี่ยม ท่อลมวงกลม C-D-E-F มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 11 นิ้ว

  22. 0.1 20 20 ขนาดท่อลมสี่เหลี่ยม C-D-E-F นำค่ามาใส่ในตาราง

  23. ความกว้างท่อลมอากาศบริสุทธิ์= 6 ฟุต ความสูงท่อลมอากาศบริสุทธิ์= 7 ฟุต เปลี่ยนขนาดท่อลมวงกลมอากาศบริสุทธิ์เป็นท่อลมสี่เหลี่ยม ท่อลมวงกลมอากาศบริสุทธิ์มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 7 นิ้ว

  24. 0.1 20 20 ขนาดท่อลมสี่เหลี่ยมอากาศบริสุทธิ์ นำค่ามาใส่ในตาราง

  25. ความกว้างท่อลมอากาศเสีย = 6 ฟุต ความสูงท่อลมอากาศเสีย = 6 ฟุต เปลี่ยนขนาดท่อลมวงกลมอากาศเสียเป็นท่อลมสี่เหลี่ยม ท่อลมวงกลมอากาศเสียมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6.5 นิ้ว

  26. 0.1 20 20 ขนาดท่อลมสี่เหลี่ยมอากาศเสีย นำค่ามาใส่ในตาราง

  27. สามารถเลือกได้ 2 แบบคือ • Fresh -> A -> B -> C • Fresh -> A -> B -> D • เนื่องจากระยะทางเท่ากัน 500 CFM 500 CFM E C 8 ฟุต (2.5 ม.) FAG RAG A B 16 ฟุต (5 ม.) 16 ฟุต (5 ม.) 10 ฟุต (3 ม.) 8 ฟุต (2.5 ม.) D F Fresh Air AHU อากาศบริสุทธิ์ Return Air ลมกลับ Chamber EAG 13 ฟุต (4 ม.) 500 CFM 500 CFM Exhaust Air อากาศเสีย เลือกระยะทางไกลสุดของท่อลมเพื่อคำนวณความดันตกรวมของระบบ นำค่าความดันตกที่ตำแหน่งต่างๆ ตามเส้นทางใดเส้นทางหนึ่งที่เลือกมารวมกันเพื่อหาความดันตกของระบบ

  28. ความดันตก = [(ความดันตกต่อ100ฟุต)/100] x ความยาวท่อลม 0.016 0.016 0.008 0.010 นำค่ามาใส่ในตาราง คำนวณค่าความดันตกของท่อลมทั้งหมด 0.1 20 20 = 0 ความดันตกรวมของระบบ = ความดันตกรวมท่อลมถึงตำแหน่งไกลสุด +ความดันตกของท่อลมกลับ + ความดันตกของท่อลมอากาศบริสุทธิ์ ติดที่เครื่องปรับอากาศ A+ B+ C+ Fresh = 0.016 + 0.016 + 0.008 + 0.010 = 0.05 ความดันตกรวมของระบบ = นิ้วน้ำ

  29. วิธีการเลือกขนาดคอหัวลมจ่ายแบบต่างๆวิธีการเลือกขนาดคอหัวลมจ่ายแบบต่างๆ • สำหรับขนาดคอหัวลมจ่ายปกติจะใช้คอหัวลมจ่ายแบบ ASD • ส่วนขนาดคอหัวลมกลับ,อากาศบริสุทธิ์ และอากาศเสียจะใช้คอหัวตามรูปที่แสดงทางขวามือ แบบหัวลมกลับ,อากาศบริสุทธิ์ และ อากาศเสีย แบบหัวจ่าย model ASD

  30. วิธีการเลือกขนาดหัวลมจ่ายแบบต่างๆวิธีการเลือกขนาดหัวลมจ่ายแบบต่างๆ จากตารางการคำนวณความดันตกในหัวลมจ่ายแบบต่างๆ เราสามารถหาความดันตกได้โดย • เลือกความเร็วลมมาตรฐานที่คอหัวจ่ายตามข้อกำหนด • ตรวจสอบปริมาณลมที่ใช้ในหัวจ่ายต่างๆ เพื่อหาขนาดหัวลมจ่ายพร้อมทั้งความดันตกในหัวลมจ่าย (ดูตัวอย่างหน้าถัดไป) ตารางการคำนวณแบบหัวลมกลับ,อากาศบริสุทธิ์ และ อากาศเสีย ตารางการคำนวณหัวจ่าย model ASD

  31. เลือกความเร็วลมหัวลมจ่ายที่ 500 FPM ปริมาณลมที่หัวลมจ่าย C-D-E-F = 500 CFM ความดันตกในหัวลมจ่าย = 0.09 นิ้วน้ำ ขนาดหัวลมจ่าย = 14” x 14” ตารางการเลือกขนาดหัวลมจ่ายแบบ ASD ความเร็วลมที่หัวลมจ่ายไม่ควรเกิน 500-750 FPM ในที่นี้เลือกใช้ความเร็วลมที่ 500 FPM

  32. เลือกความเร็วลมหัวลมอากาศบริสุทธิ์และอากาศเสียที่ 500 FPM ขนาดหัวลมอากาศบริสุทธิ์และอากาศเสีย = 10” x 6” ปริมาณลมที่หัวลมอากาศบริสุทธิ์ = 155 CFM ปริมาณลมที่หัวลมอากาศเสีย = 140 CFM ความดันตกในหัวลมกาศบริสุทธิ์และกาศเสีย = 0.04 นิ้วน้ำ ตารางการเลือกขนาดหัวลมอากาศบริสุทธิ์ (FAG) และอากาศเสีย (EAG) ความเร็วลมที่หัวลมอากาศบริสุทธิ์และอากาศเสียไม่ควรเกิน 500-800 FPM ในที่นี้เลือกใช้ความเร็วลมที่ 500 FPM

  33. (a-1) คำนวณค่าความดันตกของท่อลมทั้งหมด นำค่ามาใส่ในตาราง 0.1 20 20 = 0 ความดันตกรวมของระบบ = ความดันตกรวมท่อลมถึงตำแหน่งไกลสุด +ความดันตกของท่อลมกลับ + ความดันตกของท่อลมอากาศบริสุทธิ์ ติดที่เครื่องปรับอากาศ A+ B+ C+ Fresh = 0.016 + 0.016 + 0.008 + 0.010 = 0.05 ความดันตกรวมของระบบ = นิ้วน้ำ (a-1)+ หัวจ่าย C+ หัวจ่าย Fresh = 0.05 + 0.09 + 0.04 = 0.18

  34. การคำนวณขนาดหัวลมกลับ (RAG) • เนื่องจากหัวลมกลับติดอยู่ที่เครื่องปรับอากาศ ดังนั้นจึงไม่ต้องคำนวณขนาดท่อลม • แต่ต้องหาขนาดหัวลมกลับ; เพื่อความสะดวกในการติดตั้งและบำรุงรักษา ควรเลือกขนาดหัวลมกลับให้มีขนาดเท่ากับขนาดของฝ้าเพดานภายในห้อง • จากข้อกำหนด ฝ้าเพดานภายในห้อง ใช้ฝ้าเพดานทีบาร์ขนาด 120 x 60 ซม. (48” x 24”) • ผู้ออกแบบจึงควรเลือกขนาดหัวลมกลับ = 48” x 24" • จากขนาดหัวลมกลับ จะสามารถหาความดันตกภายในหัวลมกลับได้จากตารางเดียวกันกับการหาขนาดหัวลมอากาศบริสุทธิ์ และอากาศเสีย (index หน้า 56) (โดยคิดที่ปริมาณลมอย่างน้อยเท่ากับปริมาณลมทั้งหมดในระบบ สำหรับในที่นี้คือ 2000 CFM) • จากตาราง; ที่ปริมาณลมใกล้เคียงกับปริมาณลมของระบบมากที่สุดคือ 2600 CFM จะได้ความดันตกของหัวลมกลับ = 0.025 in.wg.

  35. 500 CFM 500 CFM E C 8 ฟุต (2.5 ม.) FAG RAG A B 16 ฟุต (5 ม.) 16 ฟุต (5 ม.) 10 ฟุต (3 ม.) 8 ฟุต (2.5 ม.) D F Fresh Air AHU อากาศบริสุทธิ์ Return Air ลมกลับ Chamber EAG 13 ฟุต (4 ม.) 500 CFM 500 CFM Exhaust Air อากาศเสีย แผนผังห้องหลังการออกแบบท่อลมทั้งหมด หัวจ่าย (SAG) ทุกหัวใช้ขนาด 14” x 14” ท่อลม C-D-E-F ใช้ขนาด 10” x 10” RAG 48” x 24” 14” x 12” 17” x 16” 7” x 6” FAG 10” x 6” 6” x 6” EAG 10” x 6”

  36. เลือก AHU ขนาด 5 ตัน รุ่นTTH060 เลือกคอนเดนซิ่งยูนิต ขนาด 5 ตัน รุ่นTTK060 ทำการเลือกเครื่องปรับอากาศหลังการออกแบบท่อลม ปริมาณลม = 2000 CFM ความดันตกรวม = 0.18 นิ้วน้ำ

  37. คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK

  38. คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK

  39. คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK

  40. คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK

  41. คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK

  42. คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK

  43. คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK

  44. คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK

  45. การเลือกความเร็วรอบมอเตอร์เพื่อให้เหมาะกับความดันตกที่คำนวณได้ (0.18 หรือประมาณ ~ 0.2 นิ้วน้ำ) และปริมาณลมที่กำหนดไว้ ** คู่มือสำหรับเลือกเครื่องปรับอากาศ TTH & TTK

  46. การประเมินราคาท่อลม คำนวณพื้นที่ท่อลมทั้งหมดที่ใช้งาน เพื่อนำไปคำนวณราคาแผ่นสังกะสีตามพื้นที่ใช้งานทั้งหมด พื้นที่ท่อลม = 0.55 x (ความกว้างท่อลม+ ความสูงท่อลม) x ความยาวท่อลม = 0.55 x (นิ้ว + นิ้ว) x เมตร ; หน่วย ตารางฟุต

  47. การประเมินราคาท่อลม

  48. Index

More Related