1 / 38

การประเมิน PISA 2012

การประเมิน PISA 2012. กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36. แนวทางการประเมินของโครงการ PISA.

Télécharger la présentation

การประเมิน PISA 2012

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมิน PISA 2012 กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36

  2. แนวทางการประเมินของโครงการ PISA PISA (Program for International Student Assessment) เป็นโครงการประเมินผลนักเรียนระดับนานาชาติ ที่ดำเนินการ โดยองค์กรความร่วมมือและพัฒนาทางเศรษฐกิจ (OECD) ตั้งแต่ ปี 2000 โดยจะประเมินต่อเนื่องกันทุก 3 ปี จุดมุ่งหมาย : เพื่อประเมินว่านักเรียนอายุ 15 ปี ที่เรียนในสถานศึกษาทุกสังกัดของประเทศนั้น ๆ ได้รับการเตรียมพร้อม ด้านความรู้และทักษะที่จำเป็นสำหรับการเป็นประชาชนที่มีคุณภาพในอนาคต และมีส่วนร่วมสร้างสังคมหรือไม่

  3. คณิตศาสตร์ 60% การอ่าน 20% วิทยาศาสตร์ 20%

  4. กลุ่มเป้าหมายของการประเมินกลุ่มเป้าหมายของการประเมิน • นักเรียนที่มีอายุ 15 ปี ณ วันที่ 1 มกราคม ของปีที่เก็บข้อมูล (จบการศึกษาภาคบังคับแล้ว) • นักเรียนที่เกิดระหว่างเดือนมิถุนายน 2539 (อายุ 16 ปี 2 เดือน) ถึงพฤษภาคม 2540 (15 ปี 3 เดือน) ประเมินในช่วงเดือนสิงหาคม 2555

  5. กรอบการสุ่ม PISA 2012 12,098 โรง  240 โรง สังกัด

  6. กรอบการสุ่ม PISA 2012 12,098 โรง  240 โรง อนุภูมิภาค สพม. 7 โรง

  7. ลักษณะข้อสอบ PISA • ข้อสอบมี 13 ฉบับ เป็นลักษณะคู่ขนาน (นักเรียน 1 คน ทำ 1 ฉบับ) • ข้อสอบจะไม่ถามเนื้อหาสาระโดยตรงตามหลักสูตร • ข้อสอบจะกำหนดข้อมูลหรือสถานการณ์มาให้ เป็นการอ่านเอาเรื่อง มีทั้งข้อสอบประเภทความจำและการคิด แต่ละข้อให้น้ำหนักคะแนนไม่เท่ากัน • รูปแบบข้อสอบมีทั้งแบบเลือกตอบ เลือกตอบแบบเชิงซ้อน สร้างคำตอบอิสระ สร้างคำตอบแบบปิด และเขียนตอบสั้น ๆ โดยให้เหตุผลสนับสนุนคำตอบ • สามารถใช้เครื่องช่วยคำนวณได้ในกรณีวิชาคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ แต่โจทย์ไม่ได้ถามเพื่อหาคำตอบตรง ๆ แต่ต้องการค่าโดยประมาณ และ บอกเหตุผลที่ตอบ • ทำไม่ถูก กับ ไม่ได้ทำ มีความหมายต่างกัน ถ้านักเรียนทำไม่ได้หรือทำไม่ทัน ให้ข้ามไป • โรงเรียนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายจะมีนักเรียนเข้าสอบไม่เกิน 35 คน

  8. การรายงานผลของ PISA 2009 1. คะแนนเฉลี่ย OECD การอ่าน Mean= 493 S.D.= 93 คณิตศาสตร์ Mean= 496 S.D.= 92 วิทยาศาสตร์ Mean= 501 S.D.= 94 2. ระดับสมรรถนะ ระดับ 2 ถือว่าเป็นระดับพื้นฐาน (Base Line) ที่บอกว่านักเรียนเริ่มรู้เรื่องและสามารถใช้ประโยชน์จากสิ่งที่เรียนรู้ ในชีวิตจริงและในอนาคต การอ่าน ระดับ 1 - ระดับ 6 วิทยาศาสตร์ ระดับ 1 - ระดับ 6 คณิตศาสตร์ ระดับ 1 - ระดับ 6

  9. ร้อยละของนักเรียนในเอเชียที่มีระดับสมรรถนะต่ำกว่าระดับ 2 (PISA 2009)

  10. นักเรียนไทยไม่เคยชินกับข้อสอบในลักษณะนักเรียนไทยไม่เคยชินกับข้อสอบในลักษณะ การเขียนตอบหรือให้คำอธิบายยาว ๆ การตีความ คิด วิเคราะห์ และสะท้อนเอาความคิดหรือปฏิกิริยาของตนที่ตอบสนองต่อข้อความที่ได้อ่าน หรือข้อมูลที่ให้มา สิ่งเหล่านี้แทบจะไม่เคยปรากฏในการสอบของประเทศไทย

  11. ข้อสอบ PISA

  12. ข้อสอบการอ่าน • ค้นหาหรือสรุปสาระสำคัญจากเรื่องที่อ่าน การค้นสาระ • ตีความหรือแปลความจากเรื่องที่อ่าน • วิเคราะห์เนื้อหาหรือข้อความที่เกี่ยวข้องกับ สิ่งต่าง ๆ การตีความ • วิเคราะห์รูปแบบการนำเสนอของข้อความ • ประเมินและให้ความเห็นหรือโต้แย้งด้วยมุมมอง ของตนเองต่อบทความที่อ่าน การวิเคราะห์ และประเมิน

  13. ข้อสอบคณิตศาสตร์ • ระบุตัวแปรหรือประเด็นที่สำคัญจากสถานการณ์ในโลกจริง • รับรู้ถึงโครงสร้างทางคณิตศาสตร์ในปัญหาหรือสถานการณ์ • ทำปัญหาหรือสถานการณ์ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย หรือแปลงโมเดลทางคณิตศาสตร์ การกำหนดปัญหาทางคณิตศาสตร์ • เลือกและใช้กลยุทธ์ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ • ใช้เครื่องมือทางคณิตศาสตร์หาวิธีที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา • ประยุกต์ใช้ข้อเท็จจริง กฎ ขั้นตอนและโครงสร้างในการแก้ปัญหา การนำกระบวนการทางคณิตศาสตร์ไปใช้ • นำผลที่ได้จากการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ไปใช้ในชีวิตจริง • ประเมินความเหมาะสมของวิธีแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ในบริบทของความเป็นจริง • ระบุและวิจารณ์ข้อจำกัดของรูปแบบที่ใช้ในการแก้ปัญหา การแปลผลลัพธ์ ทางคณิตศาสตร์

  14. เนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ที่ครอบคลุมเนื้อหาวิชาคณิตศาสตร์ที่ครอบคลุม • ปริภูมิและรูปทรงสามมิติ • การเปลี่ยนแปลงและความสัมพันธ์ • ปริมาณ • ความไม่แน่นอน

  15. ข้อสอบวิทยาศาสตร์ • รู้ว่าประเด็นปัญหาหรือคำถามใด ตรวจสอบได้ด้วยวิทยาศาสตร์ • บอกคำสำคัญสำหรับการค้นคว้า • รู้ลักษณะสำคัญของการตรวจสอบทางวิทยาศาสตร์ การระบุประเด็นทางวิทยาศาสตร์ • ใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ สร้างคำอธิบายที่สมเหตุสมผลและสอดคล้อง กับประจักษ์พยาน • บรรยายหรือตีความปรากฏการณ์และพยากรณ์การเปลี่ยนแปลง ในเชิงวิทยาศาสตร์ • ระบุได้ว่าคำบอกเล่า คำอธิบาย และการพยากรณ์ใดที่สมเหตุสมผล การอธิบายปรากฏการณ์ในเชิงวิทยาศาสตร์ • ตีความหลักฐานประจักษ์พยานหรือข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ลงข้อสรุป และสื่อสารข้อสรุป • ระบุข้อตกลงเบื้องต้น ประจักษ์พยานที่อยู่เบื้องหลังข้อสรุป • แสดงให้เห็นว่าเข้าใจแนวคิดและหลักการทางวิทยาศาสตร์ ด้วยการนำวิทยาศาสตร์ไปใช้ในสถานการณ์หรือบริบทต่างๆ • สะท้อนถึงการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่มีนัยต่อสังคม การใช้ประจักษ์พยานทางวิทยาศาสตร์

  16. เนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์ที่ครอบคลุมเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์ที่ครอบคลุม • ระบบกายภาพ • ระบบสิ่งมีชีวิต • ระบบโลกและอากาศ • ระบบเทคโนโลยี • การค้นคว้าหาความรู้ • กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

  17. ตัวอย่างข้อสอบ

  18. การเตรียมความพร้อมของโรงเรียนการเตรียมความพร้อมของโรงเรียน

  19. ประกาศ สพฐ. เรื่อง การเตรียมความพร้อมในการพัฒนาคุณภาพนักเรียน สู่การยกระดับผลการประเมินนักเรียนนานาชาติ (PISA) ปี 2012 กำหนดนโยบายให้สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและโรงเรียนดำเนินการ ดังนี้ • โรงเรียนจัดช่วงเวลาอย่างน้อยวันละ 1 ชั่วโมง ส่งเสริมการอ่านเอาเรื่อง จับใจความสำคัญ ตีความและคิดวิเคราะห์ ครอบคลุมภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตประจำวัน • ให้โรงเรียนจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้การสอบ PISA แก่นักเรียนชั้น ม.3 , ม.4 อย่างต่อเนื่อง ทั้งในและนอกเวลาเรียน และรายงานผลต่อสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นระยะ ๆ • โรงเรียนต้องจัดให้มีการประเมินผลนักเรียนนานาชาติก่อนสอบจริง (Pre-PISA) แก่นักเรียนชั้น ม.3 และ ม.4 • สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีการติดตามให้ความช่วยเหลือ ส่งเสริมพัฒนาการเรียนรู้การสอบ PISA แก่โรงเรียนอย่างใกล้ชิดทุกสัปดาห์ และรายงานผลต่อ สพฐ. ทุกวันที่ 15 ของเดือน • โรงเรียนใดที่ดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาการเรียนรู้การสอบ PISA มีผลการประเมินสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับกลาง จะถือว่าปฏิบัติงานประสบความสำเร็จ ควรได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นแบบอย่างที่ดีต่อไป

  20. สิ่งที่โรงเรียนต้องดำเนินการสิ่งที่โรงเรียนต้องดำเนินการ ประชุมครูในโรงเรียน เพื่อเตรียมการนำข้อสอบไปใช้ฝึกนักเรียน ชี้แจงให้นักเรียนเห็นความสำคัญของการฝึกทำข้อสอบ PISAอาจกำหนดมาตรการ จูงใจ หรือยกย่องให้กำลังใจนักเรียน จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้การสอบ PISA ให้นักเรียนที่เกิดระหว่างเดือนมิถุนายน 2539 (อายุ 16 ปี 2 เดือน) ถึงพฤษภาคม 2540 (15 ปี 3 เดือน) ทุกคน เพื่อให้ได้ฝึกทำข้อสอบ PISA ในการฝึกทำข้อสอบของนักเรียน ให้ดำเนินการดังนี้ 3.1 ให้นักเรียนทำข้อสอบการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ 3.2 ครูนำข้อสอบมาอภิปรายกับนักเรียนเป็นรายข้อ โดยให้นักเรียนชี้แจงว่าคิดเห็นอย่างไร ให้คำตอบนี้ด้วยเหตุผลใด เห็นด้วยหรือไม่ อย่างไรกับคำตอบของเพื่อน 3.3 ให้นักเรียนช่วยกันสรุปคำตอบแต่ละข้อว่าควรเป็นอย่างไร โดยไม่ให้ครูเฉลยก่อน 4. จัดให้มีการประเมินผลนักเรียนนานาชาติก่อนสอบจริง (Pre-PISA)

  21. กิจกรรมที่โรงเรียนต้องรายงานให้ สพม.เขต 36 ทราบ การประชุมครูในโรงเรียน เพื่อเตรียมการนำข้อสอบไปใช้ฝึกนักเรียน การประชุมชี้แจงให้นักเรียนเห็นความสำคัญของการฝึกทำข้อสอบ PISA การประเมินผลนักเรียนนานาชาติ ก่อนการเตรียมความพร้อม (Pre-test) ตรวจกระดาษคำตอบ และบันทึกผลคะแนน แยกเป็นรายคน/รายวิชา เพื่อ**ประมาณฉบับละ 20 ข้อ** การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้การสอบ PISA เพื่อให้ได้ฝึกทำข้อสอบ PISA การประเมินผลนักเรียนนานาชาติหลังการเตรียมความพร้อม (Post-test) ตรวจกระดาษคำตอบ และบันทึกผลคะแนน แยกเป็นรายคน/รายวิชา เปรียบเทียบความก้าวหน้า Posttest – Pretest การปรับปรุงซ่อมเสริมนักเรียนตามจุดอ่อน จุดด้อย เป็นรายคน ตามประเด็นที่ค้นพบจากการทำแบบทดสอบ

  22. วางแผนทำเมื่อไหร่ อย่างไร ผู้รับผิดชอบเป็นใคร กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนระดับชั้นใด กี่คน เมื่อดำเนินการแล้วผลเป็นอย่างไร (ควรมีคำสั่ง/ภาพกิจกรรมประกอบ)

  23. การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้การสอบ PISA การประเมินผลนักเรียนนานาชาติก่อนสอบจริง (Pre-PISA) CD : PISA

  24. สิ่งที่ต้องให้ความสำคัญเพิ่มเติมสิ่งที่ต้องให้ความสำคัญเพิ่มเติม

  25. นักเรียนสะกดคำผิดและขาดทักษะในการเขียนภาษาไทยนักเรียนสะกดคำผิดและขาดทักษะในการเขียนภาษาไทย ตัวอย่างที่ 1 : ในขั้นตอนที่4ของกระบวนการทำความสะอาด คลอรีนถูกเติมลงไปในน้ำทำไมจึงเติมคลอรีนลงไปในน้ำ ตัวอย่างที่2 : ตรวจดูก๊าซที่ปล่อยออกมาจากเครื่องแปลงไอเสีย วิศวกรและนักวิทยาศาสตร์ ที่ทำเครื่องแปลงไอเสียเพื่อให้ผลิตก๊าซที่เป็นอันตรายน้อยลงยังมีปัญหาที่ควรต้องแก้ไข ปัญหาหนึ่งนั้นคืออะไร

  26. ตัวอย่างที่ 3 : สุวรรณและมาริกาต้องการใช้เชื้อเพลิงที่ไม่มีผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม เชื้อเพลิงชนิดไหนที่ควรจะแนะนำให้สุวรรณและมาริกาใช้ ไม้ หรือ โพรเพน ให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์สนับสนุนคำแนะนำของนักเรียนด้วย ตัวอย่างที่4 : จงอธิบายว่าทำไมเครื่องมือผ่าตัดที่ใช้ในห้องผ่าตัดจึงถูกทำให้ปลอดเชื้อ

  27. ตัวอย่างที่ 6 : ตัวอย่างที่ 7 :

  28. ตัวอย่างที่ 5 :

  29. นักเรียนแสดงทัศนคติที่ไม่ดีต่อการสอบนักเรียนแสดงทัศนคติที่ไม่ดีต่อการสอบ ตัวอย่างที่ 15 : นักหนังสือพิมพ์เขียนว่า “รถไฟลอยด้วยแรงแม่เหล็กวิ่งด้วยความเร็ว 500 กม./ชม. วิ่งผ่านไปอย่างเงียบๆ เหมือนกับไม่มีความต้านลม” นักเรียนเห็นด้วยกับข้อความของนักหนังสือพิมพ์หรือไม่จงให้เหตุผล

  30. ตัวอย่างที่ 16 : ข้อสนเทศใดในตารางที่แสดงว่า ม้าในยุคปัจจุบันมีวิวัฒนาการมาจากซากฟอสซิลทั้งสามชนิดในตาราง จงอธิบาย ตัวอย่างที่ 17 : อมันดาซื้อเครื่องเป่าผมใหม่ ที่ใช้กำลังไฟฟ้าสูงกว่าเครื่องเก่า ทำไมอมันดาอาจจะใช้กระแสไฟฟ้าน้อยกว่าเมื่อเธอเป่าผมด้วยเครื่องเป่าผมใหม่แทนที่จะใช้เครื่องเป่าผมเก่า

More Related