1 / 106

การผลิตพืชสำคัญ เป็นแหล่งของ พลังงาน และ ธาตุอาหาร สำหรับการดำรงชีวิต

100311 สรีระวิทยาพืช. 11. การผลิตพืชคืออะไร? กระบวนการที่พืช สะสม พลังงาน รังสีดวงอาทิตย์และ แร่ธาตุ อาหาร ในรูปสารประกอบอินทรีย์ที่ต้องการ อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดไว้. การผลิตพืชสำคัญ เป็นแหล่งของ พลังงาน และ ธาตุอาหาร สำหรับการดำรงชีวิต. 100311 สรีระวิทยาพืช.

benjamin
Télécharger la présentation

การผลิตพืชสำคัญ เป็นแหล่งของ พลังงาน และ ธาตุอาหาร สำหรับการดำรงชีวิต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 100311สรีระวิทยาพืช 11 • การผลิตพืชคืออะไร? • กระบวนการที่พืชสะสมพลังงานรังสีดวงอาทิตย์และแร่ธาตุอาหาร ในรูปสารประกอบอินทรีย์ที่ต้องการ อย่างมีประสิทธิภาพ • ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดไว้ • การผลิตพืชสำคัญ • เป็นแหล่งของ พลังงาน และ ธาตุอาหาร สำหรับการดำรงชีวิต

  2. 100311สรีระวิทยาพืช การสะสมพลังงานและธาตุอาหารอาศัยกระบวนการพื้นฐานสรีระวิทยาเช่น • Transport system • Photosynthesis • Respiration • N and S metabolism • Development

  3. 100311สรีระวิทยาพืช • วิชา Physiology for Crop Production จะกล่าวถึง • หน้าที่และการทำงานของกระบวนการพื้นฐานเหล่านี้ • กลไกที่ทำให้ลักษณทางพันธุกรรมและสภาพแวดล้อม สามารถควบคุมการทำงานของกระบวนการเหล่านี้ • เรียนสรีรวิทยาแล้วได้อะไร? • เข้าใจถึงกลไกที่ลักษณทางพันธุกรรมและสภาพแวดล้อมควบคุมการเจริญเติบโตและผลผลิตพืช • สามารถวิเคราะห์หาข้อจำกัดและปัญหาของการกระบวนการผลิต • หาแนวทางการแก้ไขปัญหาได้ตรงประเด็น และประสบความสำเร็จในการผลิตพืช

  4. 100311 สรีระวิทยาพืช:ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช ๑ พื้นฐานของระบบการลำเลียงและเคลื่อนย้ายของโมเลกุล ๒ ระบบการลำเลียงผ่าน xylem ๓ ระบบการลำเลียงผ่าน phloem

  5. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล • การเคลื่อนของโมเลกุล เป็นกระบวนการทางกายภาพ จะเกิดขึ้นเมื่อ • มีแรงมากระทำกับโมเลกุล • สารที่เป็นสื่อต้องยอมให้โมเลกุลนั้นๆ เคลื่อนที่ผ่าน • ลักษณะทั่วไปของการเคลื่อนของโมเลกุลในพืชมี ๒ รูปแบบ • การแพร่ (diffusion) • Mass flow

  6. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล • Diffusion ลักษณะเด่นของการแพร่ก็คือ โมเลกุลแต่ละชนิดจะเคลื่อนที่เป็นอิสระจากกัน จากที่ๆ มีความเข้มข้นสูงลงสู่ที่ๆ มีความเข้มข้นต่ำกว่า • อัตราของการแพร่ (J) จึงขึ้นกับ • ความแตกต่างของความเข้มข้น (DC) และระยะห่างระหว่างจุดทั้งสอง (Dx) • สัมประสิทธิการแพร่ (k) Fick’s Law เงื่อนใข แรงอื่นๆ ที่กระทำกับโมเลกุลต้องเท่ากัน

  7. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล ตัวอย่าง • ความเข้มข้นของ iที่จุด a Ca = 20 moles m-3และที่ b Cb = 10 moles m-3 • ระยะห่างระหว่าง a bเท่ากับ 0.05 m • ค่าสัมประสิทธิการแพร่เท่ากับ 0.016*10-3 m2 s-1 จากกฏของ Fick อัตราการแพร่ของสารiจาก aไป bเท่ากับ 0.0032 moles m-2 s-1

  8. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล • Mass flow ลักษณะเด่นของ mass flow คือ โมเลกุลแต่ละชนิดจะเคลื่อนที่ไปพร้อมๆ กัน จากที่ๆ มีความดันสูงสู่ที่ๆ มีความดันต่ำกว่า • อัตราของ mass flow (Jv) จึงขึ้นกับ • ความแตกต่างของความดัน( D P)และ ระยะห่างระหว่างจุดทั้งสอง ( Dx) • ค่าสัมประสิทธิการนำ (hydraulic conductivity, Lp) Darcy Law เงื่อนใข แรงอื่นๆ ที่กระทำกับโมเลกุลต้องเท่ากัน

  9. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล ตัวอย่าง • ความดันที่จุด a Pa = 0.4 MPa และที่ b Pb = 0.2 MPa • ระยะห่างระหว่าง a b เท่ากับ 10 m • ค่าสัมประสิทธิการนําพาเท่ากับ 0.05 m2 MPa-1 s-1 จากกฎของ Darcy อัตราการเคลื่อนที่ของสารละลายจาก a ไป b เท่ากับ 0.001 m s-1

  10. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล -2mv +2mv + - - + - + + - - - + + permeable membrane to both electrolytes การเคลื่อนที่ของโมเลกุลอาจเกิดจากแรงหลายรูปแบบ กระทําต่อโมเลกุลพร้อมๆ กัน Water & sugar H.pressure Water & sugar H.pressure pure water L.pressure pure water L.pressure Semi-permeable membrane Semi-permeable membrane ดังนั้นต้องรวมพลังงานที่หลากหลายรูปแบบเหล่านี้ให้เข้ามาอยู่ในรูปแบบเดียวกัน

  11. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล พลังงานอิสระ Free energy และ พลังงานอิสระ/โมล Chemical potential (m) • พลังงานอิสระ : • พลังงานสูงสุดในระบบที่สามารถใช้ทำงานได้ • การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเอง จะเปลี่ยนจากภาวะพลังงานอิสระสูง สู่ภาวะพลังงานอิสระต่ำ • ที่สภาพสมดุลย์พลังงานอิสระจะเท่าเทียมกัน และไม่มีการเปลียนแปลงสุทธิเกิดขึ้น • เป็นคุณสมบัติแบบ extensive • Chemical potential (m) : • พลังงานอิสระต่อโมล • เป็นคุณสมบัติแบบ intensive ซึ่งไม่ขึ้นกับขนาดของระบบ ซึ่งเป็นข้อแตกต่างที่สําคัญจาก free energy

  12. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล สรุป • โดยทั่วไป โมเลกุลจะเคลื่อนที่แบบ Diffusion หรือ Mass Flowซึ่งสามารถประเมินอัตราการเคลื่อนที่โดยใช้ Diffusion: Fick Law Mass flow:: Darcy Law • ในพืช การเคลื่อนของโมเลกุลอาจซับซ้อนขึ้นเนื่องจากมีพลังงานหลายรูปแบบมากระทําพร้อมๆ กัน ดังนั้นจึงรวมพลังงานเหล่านี้ให้อยู่ในรูป chemical potential

  13. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล Additive property เนื่องจากพลังงานมีคุณสมบัติที่เรียกว่า additiveดังนั้น chemical potential สุทธิ จึงเป็นผลรวมของ chemical potential ของแต่ละรูปแบบของพลังงาน เช่น ความเข้มข้น ความดัน ศักย์ไฟฟ้า แรงดึงดูดของโลก ฯลฯ

  14. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล องค์ประกอบของ chemical potential ในระบบทางชีววิทยา 1 Chemical potential อันเนื่องมาจากความเข้มข้น (osmotic potential) R = gas constant, 8.3 J mol-1 Ko , T = Kelvin Ko, a = activity of i โดยทั่วไปในพืช g activity coefficient ~ 1, For solute ai=g C (C, molality) For solvent, ai=g N, (N, mole fraction)

  15. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล 2 Chemical potential อันเนื่องจากความดัน (pressure potential) V = partial molal volume, m3 mol-1 P = Pressure, J m-3 (Pa) 3 Chemical potential อันเนื่องจากแรงดึงดูดของโลก (gravitational potential) m = mass/mole, kg mol-1, g = 9.8 m s-2, h = height, m 4 Chemical potential อันเนื่องจากศักย์ไฟฟ้า (electrical potential) Z = valency, F = Faraday constant (96487 coulombs mol-1), E = volt

  16. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล Chemical potential และอัตราการเคลื่อนทีของโมเลกุล จากสมการที่แสดงคุณสมบัติ additive ของพลังงาน เมื่อแทนที่ chemical potential ของแต่ละองค์ประกอบ อัตราการเคลื่อนที่ของโมเลกุลจะขึ้นกับ chemical potential ดังสมการ J = mol m-2 s-1 k = coefficient, mol2 J-1 s-1 m-1

  17. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล Example T=293 K Cell Nw = 0.990 P = atm Lp = 22.84*10-4 mol2 J-1m-2s-1 Nw = 0.995 P = atm Chemical potential J mol-1 Flux of water into the cell moles m-2 s-1 At equilibrium

  18. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล สรุป General forms are: Diffusion: Fick Law Mass flow: Darcy Law Multiple forces: หรือ At equilibruim: Dm = 0 Ji = 0

  19. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล ความจําเป็นที่จะต้องมีสภาพมาตรฐาน • เพื่อให้มีบรรทัดฐานในการอ้างอิง ตัวอย่างเช่น ตอบไม่ได้ว่า chemical potential ของน้ำที่ A มากกว่าที่ Cหรือไม่ แต่ถ้าเป็นการเปรียบเทียบกับสภาพมาตรฐานเดียวกัน chemical potential ของนํ้าที่ A เท่ากับ ที่ C • นอกจากนี้ยังไม่สามารถการวัดค่าสมบูรณ์ของ chemical potential ในทางปฏิบัติได้เช่น ของแรงดึงดูดของโลกซึ่งขึ้นกับความสูง หรือศักย์ไฟฟ้าซึ่งมีค่าสมมุติเป็นบวกหรือลบ

  20. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล ข้อกำหนดของสภาพมาตรฐาน 1. สําหรับsolvent, N = 1 และสําหรับ solute, C=1 molality 2. อุณหภูมิ (T) = 25 oC หรือ 298 oK 3. ความดัน (P) = ความดันของบรรยากาศ 4. ความสูง = ความสูงที่ระดับนํ้าทะเล 5. ศักย์ไฟฟ้า (E) = 0

  21. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล ชลศักย์ Water potential (Y). สิ่งมีชีวิตต้องใช้น้ำ chemical potential ของน้ำจึงเป็นคุณสมบัติที่สำคัญ ค่า chemical potential ของน้ำที่ได้จากการเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานเรียกว่า ชลศักย์ ซึ่งมักนิยมเขียนโดยใช้ตัวย่อ

  22. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล ชลศักย์ • เนื่องจาก เซลเมมเบรนไม่ไช่ perfect semipermeable sreflection coeeficient ค่าสัมประสิทธิที่แสดงถึงคุณสมบัติของเมมเบรน ในการปิดกั้นโมเลกุลอื่นนอกจากน้ำ 1= ปิดกั้น 100% 0=ไม่ปิดกั้นเลย • เซลหรือดินยังมี colloids เช่น proteinsในเซล หรือ อนุภาค clay ของดิน • ผลของ molecules เหล่านี้ต่อชลศักย์เรียกว่า matric potential yt (ysหรือ yt <= 0)

  23. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล ชลศักย์ของไอน้ำ • ในกรณีของก๊าซ มักจะไม่วัดปริมาณเป็นความเข้มข้น แต่มักจะนิยมวัดเป็นความดันที่เรียกว่า partial pressure (e) • Total pressure = partial pressure of gas1 + partial pressure of gas2 +...gasn • Partial pressure ของไอนํ้าที่สภาพสมดุลย์ กับนํ้าบริสุทธิเรียกว่า saturation vapour pressure (es)

  24. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล vapour ที่สมดุลย์ Liquid จากกฎของ Raoult แทนที่ Nw/Nw* ในสมการที่ 1 ได้

  25. 100311ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในพืช: พื้นฐานการเคลื่อนที่ของโมเลกุล ระบบการลำเลียงแร่ธาตุอาหารในท่อนำน้ำ (xylem) และ อาหาร (phloem) เนื้อเยื่อเจริญของใบ ลำต้น เมล็ด น้ำ น้ำตาล แร่ธาตุ Phloem Transport ใบที่โตเต็มที่ Xylem Transport น้ำ แร่ธาตุ เนื้อเยื่อเจริญของราก ดิน

  26. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport ระบบการลำเลียงผ่าน xylem แบ่งได้เป็น 3 ส่วน 1 จากดินเข้าสู่ท่อxylem ที่ราก 2 เคลื่อนที่ตามท่อ xylemจากรากขึ้นสู่ใบ 3 เคลื่อนที่ออกจากท่อ xylem และในกรณีย์ของน้ำระเหยสู่บรรยากาศ (การคายน้ำ)

  27. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport

  28. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport

  29. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport จากดินเข้าสู่ราก Epidermis Endodermis and casparian strip Cortex xylem Phloem Molecule Pericycle • ผ่านmembraneอย่างน้อย2ครั้ง Water & Ions membrane epidermis cortex endodermis Xylem membrane endodermis pericycle Apoplasm Symplasm Apoplasm

  30. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport โครงสร้างของ membrane • Phospholipids Hydrophobic (Nonpolar) Hydrophillic (Polar) • Proteins:โซ่ของ amino acidsที่ต่อกันด้วย peptide bond

  31. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport • การเรียงตัวขององค์ประกอบ: Fluid mosaic model Integral protein Peripheral protein Bilayers phospholips • การจับยึดระหว่างnonpolar โมเลกุลอาศ้ย hydrophobic interactions • polar โมเลกุลจะจับกับอื่นฯ โดยอาศัยไฟฟ้าสถิตย์ หรือH bond • แรงยึดระหว่างโมเลกุลค่อนขัางต่ำ โมเลกุลเหล่านี้จึงเคลื่อนที่เปลี่ยนแปลงตำแหน่งเสมอ • ทั่วไป protein:lipid 50:50 แต่ mitochondriaหรือ chloroplastอาจสุงถึง 80:20

  32. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport

  33. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport ผลของโครงสร้างของ membraneต่อการลำเลียงโมเลกุล Water: dipolar& small size Ions : polarity & larger size Aquaporin Carriers / channels

  34. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport หลักฐานที่ชี้ว่าแร่ธาตุเคลื่อนผ่าน membrane ต้องอาศัย proteins Physical 1. Saturation kinetics Enzymic reaction อัตราการเคลื่อนที่ D ความเข้มข้น ยับยั้งการเคลื่อนที่ผ่าน membrane 2. Protein inhibitor Eg. 2,4 dinitrofluorobenzene, cyanide 3. Selectivity: NKP > others with the same Dm สรุป:ต้องอาศัย proteins แต่น้ำอาจผ่าน phospholipids ได้บ้าง

  35. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport External energy พลังงานที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของโมเลกุลผ่าน membrane 1. โดยใช้Dm Passive transport High m Low m การเคลื่อนของโมเลกุลของน้ำเป็นการเคลื่อนที่แบบ passive 2 โดยใช้พลังงานจากภายนอก Active transport High m Low m การเคลื่อนที่ของแร่ธาตุบางชนิด เป็นแบบ active

  36. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport Water: passive transport, channel “aquaporins”

  37. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport Passive transport of ions: channel and carrier proteins

  38. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport Primary active transport-Pumps

  39. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport Primary active transport

  40. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport Secondary active transport

  41. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport กลไกการเคลื่อนที่แบบ active Ion-pump and carrier hypothesis ATP ADP+Pi H-ATPase H-ATPase OH- HOH HOH H+ Carrier _ Carrier + _ + _ + _ + membrane membrane Pmf = D Electric + D[H] Metabolic energy (ATP)

  42. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport + + + + _ _ _ _ ADP+Pi ADP+Pi HOH OH- H+ Carrier1 Carrier2 membrane membrane D Concentration Symport (H and ion)

  43. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport การตรวจสอบว่าเป็น active หรือ passive ค่าคงที่ R= 8.3 J/(mol K) F=96487 C/V • ความเข้มข้น mM • ภายนอก ภายใน • Na+ 1.0 14.0 • K+ 0.1 119.0 • Cl- 1.3 65.0 ความต่างศักย์ไฟฟ้า Eo-Ei = 0.138V อุณหภูมิ T=293 K

  44. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport Nernst equation ที่จุดสมดุลย์

  45. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport 1 จากดินเข้าสู่ท่อ xylem 2เคลื่อนที่ตามท่อ xylem จากรากขึ้นสู่ใบ 3 เคลื่อนที่ออกจากท่อ xylem และ ในกรณีย์ของน้ำระเหยสู่บรรยากาศ (การคายน้ำ)

  46. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport องค์ประกอบของxylem

  47. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport เคลื่อนที่ตามท่อ xylemจากรากขึ้นสู่ใบ 1.ความดันที่ราก root pressure 2. Capillary 3.แรงดึงจากการคายน้ำที่ใบTranspirational pull

  48. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport ความดันที่ราก root pressure Endodermis Active transport of ions ความเข้มข้นของ ions inside > outside Mole Fraction (N) ของน้ำoutside > inside passive transport of water Endodermis ความดันที่รากเพิ่มขึ้น Endodermis และเกิดการเคลื่อนแบบ mass flowของสารละลายใน xylem เนื่องจากความต่างของความดัน

  49. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport การเคลื่อนที่แบบ Capillary • Capillary อาศัยแรง: • Adhesion แรงดึงระหว่างโมเลกุลชนิดเดียวกัน • Surface tension แรงตึงผิว • Cohesion แรงดึงระหว่างโมเลกุลต่างชนิด Adhesion + Surface tension + Cohesion Adhesion + Surface tension No force Only adhesion

  50. 100311สรีระวิทยาพืช:xylem transport G cosa G Surface tension (G ) a Tension a W มุม a สำคัญ: ถ้ามุมa = 90 แรงดึง = 0 และถ้า a = 0 แรงดึงสูงสุด จากสมการของYoung and Du Pre เมื่อ Ad = Co, cosa = 1, a = 0, ต.ย น้ำ-พื้นผิวที่มีประจุ เช่น ผิวแก้ว หรือcell walll และเมื่อ Ad = 1/2Co, cosa = 0, a = 90, ต.ย น้ำ-พื้นผิวที่มีไม่มีประจุเช่น ผิว polyethylene

More Related