2.22k likes | 5.52k Vues
สรุปสาระสำคัญ พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. โดย นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองอธิบดีกรมอนามัย. เจตนารมณ์ของกฎหมาย เพื่อให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วม ในกระบวนการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพของประเทศ. ลักษณะพิเศษของกฎหมาย เป็นกฎหมายเชิงบริหาร ที่มีผลบังคับต่อหน่วยงานภาครัฐ
E N D
สรุปสาระสำคัญพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. .... โดย นายแพทย์โสภณ เมฆธน รองอธิบดีกรมอนามัย
เจตนารมณ์ของกฎหมายเพื่อให้ประชาชนทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วม ในกระบวนการกำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ระบบสุขภาพของประเทศ ลักษณะพิเศษของกฎหมาย • เป็นกฎหมายเชิงบริหาร ที่มีผลบังคับต่อหน่วยงานภาครัฐ • สภาพบังคับต่อหน่วยงานรัฐ จะเป็นกรณีการละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ • บทกำหนดโทษ มีอยู่มาตราเดียวเรื่องการเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล • คุ้มครองสิทธิของประชาชน และ ไม่มีสภาพบังคับต่อประชาชน
คำนิยามที่สำคัญ • “ระบบสุขภาพ” หมายความว่าระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ • “บริการสาธารณสุข” หมายความว่า บริการต่างๆ อันเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคามสุขภาพ การตรวจวินิจฉัยและบำบัดสภาวะความเจ็บป่วยและการฟื้นฟูสมรรถภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน • “สมัชชาสุขภาพ” หมายความว่า กระบวนการที่ให้ประชาชนและหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องได้ร่วมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเรียนรู้อย่างสมานฉันท์ เพื่อนำไปสู่การเสนอแนะนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพหรือความมีสุขภาพของประชาชน โดยจัดให้มีการประชุมอย่างเป็นระบบและอย่างมีส่วนร่วม
สิทธิ-หน้าที่ของประชาชนตามกฎหมายสิทธิ-หน้าที่ของประชาชนตามกฎหมาย • มีสิทธิในการดำรงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ และ มีหน้าที่ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐที่จะดำเนินการ • ได้รับการคุ้มครอง เรื่องข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล • มีสิทธิได้รับแจ้งข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการอย่างเพียงพอ เพื่อการตัดสินใจ (ยกเว้น...) หากปฏิเสธการรับบริการ จะให้บริการนั้นไม่ได้ • มีหน้าที่แจ้งข้อมูลการเจ็บป่วยต่อผู้ให้บริการ ถ้าปกปิด/แจ้งเท็จ ผู้ให้บริการไม่ต้องรับผิดชอบต่อความเสียหายจากการให้บริการ • มีสิทธิทำหนังสือแสดงเจตนาไม่ประสงค์ที่จะรับบริการสาธารณสุขที่เป็นไปเพียงเพื่อยืดการตายในวาระสุดท้ายของชีวิต
การคุ้มครองสุขภาพสตรี & กรณีจัดทำโครงการ/กิจการ มาตรา 6 สุขภาพของหญิงที่หมายถึงสุขภาพทางเพศและสุขภาพของระบบเจริญพันธุ์ของหญิงซึ่งมีความจำเพาะ ซับซ้อนและมีอิทธิพลต่อสุขภาพหญิงตลอดช่วงชีวิต ต้องได้รับการสร้างเสริม และคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสม สุขภาพของเด็ก คนพิการ คนสูงอายุ คนด้อยโอกาสในสังคมและกลุ่มคนต่างๆที่มีความจำเพาะในเรื่องสุขภาพต้องได้รับการสร้างเสริมและคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสมด้วย มาตรา 11 บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิร้องขอให้มีการประเมินและมีสิทธิร่วมในกระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพจากนโยบายสาธารณะ บุคคลหรือคณะบุคคลมีสิทธิได้รับรู้ข้อมูล คำชี้แจง และเหตุผลจากหน่วยงานของรัฐ ก่อนการอนุญาตหรือการดำเนินโครงการหรือกิจกรรมใดที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพของตนหรือของชุมชนและแสดงความเห็นของตนในเรื่องดังกล่าว
กลไกการดำเนินการตามกฎหมายสุขภาพกลไกการดำเนินการตามกฎหมายสุขภาพ • - กระทรวงสาธารณสุข • - กระทรวงอื่น ๆ • - ส่วนราชการต่างๆ ครม. • - แต่งตั้ง • - วางนโยบาย • - กำกับดูแล คสช. คกก.บริหาร • นายกรัฐมนตรี/รองฯที่ได้รับมอบหมาย • รัฐมนตรีว่าการะทรวงสาธารณสุข • รัฐมนตรีอื่นอีก 5 คน • ประธานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจ ฯ • ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4 คน • ผู้แทนองค์กรวิชาชีพองค์กรละ 1 คน • ผู้แทนคณะกรรมการวิชาชีพ 1 คน • ผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่ผู้ประกอบวิชาชีพสาธารณสุขอีก 6 คน และ • ผู้แทนองค์กรเอชน(ไม่หากำไร)อีก 12 คน • ประธานแต่งตั้งมาจาก คสช. 1 คน • ผู้แทนการะทรวง สธ. 1 คน • ทรงคุณวุฒิ ไม่เกิน 5 คน • เลขาธิการ คสช. เป็นเลขานุการ • - ตัดเลือกเลขาธิการ • - กำกับดูแล/อนุมัติ • - วางระเบียบ • - ประเมินผล สำนักงาน คสช. (เลขาธิการ คสช.)
กลไกการดำเนินการตามกฎหมายสุขภาพ (ต่อ) ครม. • -กระทรวงสาธารณสุข • -กระทรวงอื่น ๆ • -ส่วนราชการต่างๆ เห็นชอบ • - ธรรมนูญฯ • - นโยบาย • - ยุทธศาสตร์ คสช. เสนอ มีผลให้ต้องปฏิบัติ ข้อเสนอแนะ คกก. บริหาร สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ คกก. จัดสมัชชาฯ สมัชชาเฉพาะประเด็น สมัชชาเฉพาะพื้นที่ สำนักงาน คสช. สนับสนุน องค์กรภาคประชาชน / ประชาชนในพื้นที่ /ประชาชนที่ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ
ธรรมนูญสุขภาพ ผลและขั้นตอนการจัดทำ • ต้องคำนึงถึงข้อเสนอของสมัชชาด้วย • เมื่อ ครม.เห็นชอบ ต้องรายงานต่อ สภาผู้แทน & วุฒิสภา และประกาศในราชกิจจานุเบกษา • ธรรมนูญที่ผ่าน ครม.เห็นชอบ มีผลผูกพันหน่วยงานของรัฐต้องดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ กรอบของธรรมนูญสุขภาพ ประกอบด้วย • ปรัชญา แนวติดหลัก • เป้าหมายที่พึงประสงค์ระบบสุขภาพ • หลักประกัน ความคุ้มครองสุขภาพ • การสร้างเสริมสุขภาพ • การป้องกัน&ควบคุมปัจจัยคุกคาม • การบริการ&ควบคุมคุณภาพ • ส่งเสริมภูมิปัญยาท้องถิ่น แพทย์ทางเลือก • การคุ้มครองผู้บริโภค • การเผยแพร่องค์ความรู้ • การผลิต&พัฒนาบุคลากร • การเงินการคลัง
ข้อเสนอเพื่อพิจารณา • กรมอนามัยจะเตรียมข้อมูลและข้อเสนอ เพื่อการจัดทำกรอบในว่าด้วยการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมใน ธรรมนูญฯ อย่างไร? • กรมอนามัยจะเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคี เครือข่าย อย่างไร? เพื่อเตรียมเป็นส่วนหนึ่งของสมัชชาสุขภาพ ทั้งระดับชาติ / พื้นที่ / เฉพาะประเด็น • กรมอนามัยจะเตรียมการพัฒนาระบบการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ (HIA) อย่างไร? • กรมอนามัยอาจต้องเตรียมการปรับปรุงกฎหมายการสาธารณสุข ให้มีบทบัญญัติว่าด้วย HIA และการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในกระบวนการบังคับใช้กฎหมายของ อปท.
Six Key Functions to High Performance Organization Organization Development R & D M & E Consumer Protection Knowledge Management Healthy People Healthy Thailand Provider Support Information Funder Alliance Surveillances M & E Human Resource Development
ระบบสุขภาพ & การบริหารจัดการ รมต.สธ. (1/36) คสช. สวรส. • นโยบาย อนุกรรมการ /คณะทำงาน • อำนวยการ • ปฏิบัติการตาม กม. • กำกับ สนับสนุนปฏิบัติการ • จัดบริการ • คุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ • มีผู้แทน • ร่วมกำหนด • ร่วมพัฒนา • รมต.สธ. • ปลัด สธ. (2/36) กระทรวง สธ. สปสช. สิ่งที่ต้องปรับเปลี่ยน (1) บทบาท / ภารกิจหน้าที่ (2) โครงสร้างองค์กร อนุกรรมการ /คณะทำงาน • มีผู้แทน • ร่วมกำหนด • ร่วมพัฒนา (3) ระบบงาน - กระบวนงาน - กลไกการเชื่อมประสานงาน
สป. สนย. ระบบงานสาธารณสุข ที่กระทรวง สธ. ต้องเตรียมการรองรับ กระจายอำนาจ? ข้อยุติเชิง นโยบาย คสช. • สป. • กรม • ภูมิภาค กระทรวง สาธารณสุข สวรส. อปท. ข้อยุติเชิง ปฏิบัติ สปสช. กรม... ภายใน ภายนอก E x p e r t F o r u m เตรียมการภายใน สธ. ในแต่ละ Area / Issue /ภารกิจ เตรียมการ & หาข้อสรุปเบื้องต้น ในแต่ละ Area / Issue /ภารกิจ
Bangkok Charter for Health Promotion In Globalised World • Policy • Infrastructure • Action Partner Invest • Policy development • Leadership • Practice • Knowledge management • Health literacy Bangkok Charter For Health Promotion Commitment to Health For All • Make the promotion of health • Global development agenda • Government core responsibility • Key focus of communities • and civil society • Good corporate practices Build Capacity Regulate Advocacy
กฎบัตรกรุงเทพ : กลยุทธ์การส่งเสริมสุขภาพในยุคโลกาภิวัฒน์ • นโยบาย • โครงสร้างพื้นฐาน • ปฏิบัติการ พันธมิตร การลงทุน • พัฒนานโยบาย • ภาวะผู้นำ • การปฏิบัติที่ดี • การจัดการความรู้ • รู้เท่าทันสุขภาพ Bangkok Charter For Health Promotion พันธสัญญาสู่สุขภาพดีถ้วนหน้า • ทำให้การส่งเสริมสุขภาพ • วาระการพัฒนาโลก • ความรับผิดชอบของรัฐ • เป้าหมาย ชุมชน ประชาสังคม • ข้อกำหนดที่ดีของบรรษัท การสร้าง ศักยภาพ การสร้าง กระแส กฎหมาย กฎ ระเบียบ
กรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดีกรมอนามัยส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี สวัสดี