1 / 47

การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2554

การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2554. กลุ่มนิเทศฯ สพป. สมุทรสาคร. วัตถุประสงค์ของการประเมิน. ตรวจสอบ ทักษะและความสามารถนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 3 ด้าน - การอ่านออกเสียง - การเขียน - การคิดคำนวณ

Télécharger la présentation

การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2554

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพผู้เรียน ปีการศึกษา 2554 กลุ่มนิเทศฯ สพป.สมุทรสาคร

  2. วัตถุประสงค์ของการประเมินวัตถุประสงค์ของการประเมิน • ตรวจสอบ ทักษะและความสามารถนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 3 ด้าน • - การอ่านออกเสียง • - การเขียน • - การคิดคำนวณ • - วัดผลสัมฤทธิ์กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์

  3. วัตถุประสงค์ของการประเมินวัตถุประสงค์ของการประเมิน 2.ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์และเตรียมความพร้อม นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในกลุ่มสาระ √ ภาษาไทย √ คณิตศาสตร์ √ วิทยาศาสตร์ √ สังคมศึกษา ฯ √ ภาษาอังกฤษ

  4. วัตถุประสงค์ของการประเมินวัตถุประสงค์ของการประเมิน 3. เพื่อวิเคราะห์ผลการสอบของนักเรียน ชั้น ม.2 สำหรับนำไปปรับปรุงแก้ไขจุดอ่อนด้อยที่พบ ทั้งรายบุคคล และการจัดการเรียนการสอน 4. เพื่อเตรียมความพร้อมนักเรียน ชั้น ม.2 สำหรับการประเมินระดับชาติ (O-NET) ปีการศึกษา 2555

  5. มาตรฐานการดำเนินงาน  เน้นให้นักเรียนเห็นความสำคัญ โดยใช้วิธีการที่หลากหลาย เช่น - ประชาสัมพันธ์ ให้ผู้ปกครอง ชุมชน ทราบ - ชี้แจง ทำความเข้าใจ เน้นย้ำให้เตรียมสอบ และตั้งใจสอบ ชี้ถึงผลดี และผลที่จะเกิด หากไม่ตั้งใจสอบอย่างเต็มความสามารถ

  6. กลุ่มเป้าหมายในการประเมินกลุ่มเป้าหมายในการประเมิน

  7. ตารางสอบ NT 2554 ป.3

  8. ตารางสอบ NT 2554 ม.2

  9. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน ภาคปฏิบัติ / เขียนตอบ /เลือกตอบ 1. ประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคปฏิบัติ √ อ่านออกเสียง √ เขียนตอบ (เขียนได้ คิดคำนวณได้) √ แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ - ภาษาไทย - คณิตศาสตร์ - วิทยาศาสตร์

  10. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินเครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 2. มัธยมศึกษาปีที่ 2 แบบทดสอบชนิดเลือกตอบ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ฯ ภาษาอังกฤษ (คล้ายข้อสอบ O-NET) ♣ รูปแบบที่ 1 เลือก 1 คำตอบ ♣ รูปแบบที่ 2 เลือกมากกว่า 1 คำตอบ ♣ รูปแบบที่ 3 กลุ่มสัมพันธ์ ♣ รูปแบบที่ 4 ระบายตัวเลข

  11. แนวปฏิบัติก่อนดำเนินการสอบแนวปฏิบัติก่อนดำเนินการสอบ 1. ให้มีกรรมการกำกับห้องสอบห้องละ 2 คน 2. ปฏิบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการ ปฏิบัติของผู้กำกับการสอบพ.ศ.2548 อย่างเคร่งครัด 3. จัดห้องสอบมีที่นั่งสอบไม่เกิน 35 คนต่อห้อง ในกรณีที่มี ห้องเรียนห้องเดียว และมีนักเรียนเกิน 35 คน แต่ไม่เกิน 40 คน อาจจัดห้องสอบเป็นห้องเดียวได้ 4. กรณีผู้เข้าสอบเกิน 40 คน ให้จัดห้องสอบเพิ่ม โดยจัด ห้องละ 35 คน เศษของแต่ละห้อง รวมไว้ห้องสุดท้าย

  12. แนวปฏิบัติก่อนดำเนินการสอบ 5. ไม่ควรจัดโต๊ะให้อยู่นอกห้องสอบ 6. ประกาศรายชื่อนักเรียนและแผนผังที่นั่งสอบ ติดที่หน้าห้องสอบทุกห้อง 7. จัดเตรียมข้อมูลรายละเอียดของนักเรียน เช่น - รหัสโรงเรียน - รหัสประจำตัวประชาชน 8. จัดเตรียม/ให้นักเรียนเตรียม ดินสอ 2B และ ยางลบ

  13. บทบาทหน้าที่กรรมการคุมสอบ • ดำเนินการสอบตามตารางสอบที่กำหนด • ก่อนเวลาเริ่มสอบให้เปิดซองบรรจุแบบทดสอบ/กระดาษคำตอบ โดยตรวจสอบความเรียบร้อยของซอง (หากพบความผิดปกติให้รีบแจ้ง และบันทึกเสนอต่อประธานสนามสอบเพื่อแจ้งศูนย์ประสานการสอบ) • เรียกตัวแทนนักเรียนที่เข้าสอบเป็นพยาน และ ลงลายมือชื่อกำกับ

  14. บทบาทหน้าที่กรรมการคุมสอบบทบาทหน้าที่กรรมการคุมสอบ 4) แจกกระดาษคำตอบและแบบทดสอบ โดยคว่ำ หน้าแบบทดสอบไว้บนโต๊ะที่นั่งสอบของนักเรียน 5) อธิบายการกรอกรหัสรายการต่างๆที่ด้านหน้า กระดาษคำตอบ และชี้แจงวิธีการเขียนหรือ ระบายรหัสลงในช่องตรงกับตัวเลขรหัสที่กรอกไว้ 6) ให้นักเรียนเปิดแบบทดสอบพร้อมกัน 7) ย้ำเรื่องเวลาที่ใช้ในการสอบ

  15. บทบาทหน้าที่กรรมการคุมสอบบทบาทหน้าที่กรรมการคุมสอบ 8) ขณะที่นักเรียนกำลังทำข้อสอบให้เดินตรวจความ เรียบร้อย และป้องกันการทุจริต โดยยืนที่มุมใด มุมหนึ่งภายในห้อง 9) กรณีที่มีผู้สงสัยให้ยกมือขึ้น ให้อธิบายข้อสงสัย เป็นรายบุคคลด้วยเสียงเบา ๆ หรือถ้าข้อสงสัย เป็นสิ่งที่จะต้องแจ้งให้นักเรียนทราบทั้งห้อง ให้ เขียนบนกระดาน (ตอบข้อสงสัยเฉพาะกรณีที่ ข้อสอบพิมพ์ไม่ชัดเจน หรือมีข้อบกพร่องอื่น ๆ เช่น ข้อความหายไปเนื่องจากการพิมพ์บกพร่อง)

  16. บทบาทหน้าที่กรรมการคุมสอบบทบาทหน้าที่กรรมการคุมสอบ 10) การเตือนเวลาการสอบในแต่ละตอน เป็นระยะ ๆ - ครึ่งเวลาที่กำหนดให้ - เมื่อเหลือเวลาอีก 5 นาที 11) กรณีที่มีผู้ทำเสร็จก่อนเวลาในแต่ละตอน ให้วาง แบบทดสอบและกระดาษคำตอบไว้ที่โต๊ะที่นั่งสอบ โดยปิดแบบทดสอบ และสอดกระดาษคำตอบไว้ แต่ไม่อนุญาตให้ออกจากห้องสอบ(ยกเว้นในช่วง พักและในกรณีที่จำเป็น) เพื่อเตรียมสอบในตอน ต่อไป

  17. บทบาทหน้าที่กรรมการคุมสอบบทบาทหน้าที่กรรมการคุมสอบ 12) เมื่อสอบเสร็จทุกตอน ให้นักเรียนนำกระดาษคำตอบ สอดไว้ในแบบทดสอบ ให้หัวกระดาษยื่นพอประมาณ วางแบบทดสอบพร้อมกระดาษคำตอบ ไว้ที่โต๊ะนั่งสอบ ก่อนออกจากห้องสอบเตือนไม่ให้นำแบบทดสอบหรือ กระดาษคำตอบ ออกนอกห้องสอบโดยเด็ดขาด 13) เก็บแบบทดสอบและกระดาษคำตอบ จากโต๊ะที่นั่งสอบ เรียงตามเลขที่นั่งสอบ จัดบรรจุซองนำส่งกองกลางโดย ตรวจสอบจำนวนให้ถูกต้อง พร้อมลงชื่อกำกับ ไม่ต้อง ปิดผนึก

  18. การกรอก / ระบายรหัส ให้นักเรียนฝึกกรอก หรือระบายรหัส บนกระดาษคำตอบ หากข้อมูลไม่ครบถ้วนจะ มีปัญหาการจัดส่งข้อมูล ผู้สอบต้องกรอกรายละเอียดต่างๆ ในกระดาษคำตอบให้ครบและถูกต้อง ตามคอลัมน์ที่กำหนด ดังนี้

  19. การกรอก / ระบายรหัส รหัสโรงเรียน จำนวน 10 หลัก คอลัมน์ที่ 1-10 ชั้น จำนวน 2 หลัก คอลัมน์ที่ 11-12 ห้องสอบ จำนวน 2 หลัก คอลัมน์ที่ 13-14 เลขที่ จำนวน 2 หลัก คอลัมน์ที่ 15-16 เลขที่บัตรประชาชน 13 หลักคอลัมน์ที่ 17-29 เพศ จำนวน 1 หลัก คอลัมน์ที่ 30 เด็กพิเศษ จำนวน 2 หลัก คอลัมน์ที่ 31-32

  20. คำอธิบายรหัสต่าง ๆ √ รหัสโรงเรียน 10 หลัก ให้ใส่รหัสโรงเรียนที่กำหนดให้ ตามบัญชีกำกับจำนวนนักเรียนของ สพป. √ รหัสชั้น 2 หลัก ป.3 รหัส 13 ป.6 รหัส 16 (กระดาษคำตอบที่ให้จะกรอกและระบายไว้แล้ว) √ รหัสห้องสอบ 2 หลัก ให้ใส่เลขที่ห้องเรียนปกติ (01,02,03,...) √ รหัสเลขที่ 2 หลัก ให้ใส่เลขที่ตามบัญชีเรียกชื่อ ของนักเรียน (01,02,03,...)

  21. การจัดห้องสอบ กรณีผู้เข้าสอบเกิน 35 คน และบางส่วนต้องไปสอบที่ ห้องสอบอื่น ยังคงให้นักเรียนใช้เลขที่ห้องสอบตามห้องเรียนของนักเรียน และเลขที่นั่งสอบตามบัญชีเรียกชื่อเหมือนเดิม เช่น โรงเรียน กมีนักเรียน ป.3/1 จำนวน 45 คน และ ป.3/2 จำนวน 44 คน ให้จัดห้องสอบ และรหัสห้องสอบ ดังนี้

  22. ห้องสอบที่ 1 นักเรียนชั้น ป.3/1 เลขที่ตามบัญชีเรียกชื่อ เลขที่ 1 – 35 (นร.ทั้งหมด 45 คน) รหัสห้องสอบและเลขที่สอบ นักเรียนคนที่ 1 0101 นักเรียนคนที่ 2 0102 " " นักเรียนคนที่ 35 0135 (เหลือ 10 คน)

  23. ห้องสอบที่ 2 นักเรียนชั้น ป.3/2 เลขที่ตามบัญชีเรียกชื่อ เลขที่ 1 – 35 (นร.ทั้งหมด 44 คน) รหัสห้องสอบและเลขที่สอบ นักเรียนคนที่ 1 0201 นักเรียนคนที่ 2 0202 " " นักเรียนคนที่ 35 0235 (เหลือ 9 คน)

  24. การจัดห้องสอบ ห้องสอบที่ 3 จะมีนักเรียนที่เหลือจาก ห้อง ป.3/1 จำนวน10 คน ใช้รหัสห้องสอบ 01 ตามด้วยเลขที่สอบตามบัญชีเรียกชื่อ (ห้องเรียน/เลขที่เดิม) นักเรียนที่เหลือจากห้อง ป.3/2 จำนวน9 คนใช้รหัสห้องสอบ 02 ตามด้วยเลขที่สอบตามบัญชีเรียกชื่อ (ห้องเรียน/เลขที่เดิม)

  25. การจัดห้องสอบ รหัสห้องสอบและเลขที่สอบ ของห้องสอบที่ 3 ห้อง ป.3/1 นักเรียนคนที่ 36 0136 " " นักเรียนคนที่ 45 0145 ห้อง ป.3/2 นักเรียนคนที่ 36 0236 " " นักเรียนคนที่ 44 0244

  26. เลขประจำตัวประชาชนรหัสเลขที่บัตรประชาชนของนักเรียน จะเป็นข้อมูลที่สำคัญอย่างยิ่งสามารถสืบค้นข้อมูลย้อนกลับมาดูภายหลังได้ นักเรียนที่ไม่มีเลขประจำตัวประชาชน ให้ใช้รหัสโรงเรียน10 หลัก ตามด้วยลำดับนักเรียน ที่ไม่มีเลขประจำตัวประชาชน 3 หลัก เริ่มที่ 001, 002, … รวมเป็น 13 หลัก เพศ มีจำนวน 1 หลัก กรอกตามเพศของผู้เข้าสอบ เพศชาย = 1 เพศหญิง = 2

  27. เด็กพิเศษ นักเรียนที่เป็นเด็กพิเศษที่มีความบกพร่อง (ที่ไม่รุนแรง)ให้กรอกรหัสตามประเภทความบกพร่อง (เด็กปกติ เว้นว่างไว้) ที่ระบุหมายเลขรหัสไว้ คือ สายตา(บอด) = 01 การเรียนรู้(เขียน) = 07 สายตา(เลือนราง) = 02การเรียนรู้(คิดคำนวณ) = 08 การได้ยิน = 03 การพูด = 09 สติปัญญา = 04พฤติกรรม = 10 ร่างกาย = 05 ออทิสติก = 11 การเรียนรู้(อ่าน) = 06ซ้อน = 12

  28. การสอบภาคปฏิบัติการอ่าน ชั้น ป.3 1. กรรมการสอบอ่าน เป็นครูผู้มีประสบการณ์สอน ภาษาไทย จัดเป็นชุด ๆ ละ 2 คน เป็นครูผู้สอบ และควรมีครูผู้ดูแลจัดนักเรียนเข้าสอบอีก 1 คน 2. สลับกรรมการระหว่างโรงเรียน 3. สอบนักเรียนทีละคนๆละ 5 นาที สำหรับนักเรียน ที่รอสอบ ให้จัดรอในสถานที่ที่นักเรียนไม่สามารถ ได้ยินเสียงการอ่านของนักเรียนที่กำลังสอบอยู่

  29. การนำผลไปใช้ 1. วิเคราะห์ผลรายบุคคลของนักเรียน ที่สะท้อนถึง ความสามารถของผู้เรียน ในแต่ละสาระของกลุ่ม สาระการเรียนรู้ที่ได้ประเมิน และแจ้งให้นักเรียน ทราบถึงจุดเด่น–ด้อย ที่ต้องเร่งพัฒนา/ปรับปรุง เป็นรายบุคคล เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปรับปรุงและ พัฒนาตนได้อย่างถูกทิศทาง

  30. การนำผลไปใช้ 2. วิเคราะห์ผลภาพรวม เปรียบเทียบผลการประเมิน กับปีการศึกษาที่ผ่านมา ในแต่ละสาระของกลุ่ม สาระการเรียนรู้ และเปรียบเทียบกับผลภาพรวม ระดับเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อทราบถึงจุดที่ต้อง เร่งดำเนินการพัฒนา ปรับปรุง การจัดการเรียน การสอนของตน จัดทำเป็นแผนยกระดับ กำหนด เป้าหมายในการพัฒนา

  31. โครงสร้างภาษาไทย ป.3

  32. โครงสร้างคณิตศาสตร์ ป.3

  33. โครงสร้างวิทยาศาสตร์ ป.3

  34. ภาคปฏิบัติการอ่าน /การเขียน ป.3

  35. ภาคปฏิบัติการอ่าน /การเขียน ป.3

  36. คณิตศาสตร์ เขียนตอบ ป.3

  37. ภาษาไทย ม.2

  38. คณิตศาสตร์ ม.2

  39. วิทยาศาสตร์ ม.2

  40. สังคมศึกษา ฯ ม.2

  41. ปัญหาอุปสรรคในการประเมินที่ผ่านมาปัญหาอุปสรรคในการประเมินที่ผ่านมา การส่งข้อมูลรหัสประจำตัวนักเรียน - รหัสโรงเรียนต้อง 10 หลัก เช่น 1055250169 - รหัสห้องสอบ เลขที่ ต้องใช้ 2 หลัก เช่น 01, 02, 03,… - รหัสเด็กพิเศษต้องใช้รหัสเดียว มีหลักฐานทางการแพทย์ - เลขประชาชนไม่ต้องเว้นวรรค ไม่ต้องใส่ขีด เช่น 3620700138365 กรณีไม่มี ให้ใส่รหัสโรงเรียน 10 หลัก ตามด้วยลำดับที่ เช่น 1055250169001, 1055250169002 ,…

  42. ปัญหาอุปสรรคในการประเมินที่ผ่านมาปัญหาอุปสรรคในการประเมินที่ผ่านมา กระดาษคำตอบ √การเขียนข้อมูลในกระดาษคำตอบของนักเรียน ไม่สมบูรณ์ เช่น รหัสประจำตัว รหัสวิชา √ การระบายกระดาษคำตอบ - ไม่เต็มวงกลม - ล้นวงกลม - ไม่ชัดเจน - ข้อเดียวระบาย 2 ตัวเลือก

  43. ปัญหาอุปสรรคในการประเมินที่ผ่านมาปัญหาอุปสรรคในการประเมินที่ผ่านมา กระดาษคำตอบ (ต่อ) - ไม่ตรวจสอบกระดาษคำตอบของนักเรียนก่อนใส่ซอง - เย็บกระดาษคำตอบปรนัย - ใส่กระดาษคำตอบปรนัย การเขียน/ การคิดคำนวณ / การอ่าน สลับซอง มีปัญหาในการตรวจและกรอกคะแนน ภาคปฏิบัติ - ให้คะแนนการอ่านเกินคะแนนเต็ม

  44. ขอขอบคุณ กลุ่มนิเทศฯ สพป.สมุทรสาคร

More Related