110 likes | 261 Vues
DDPM. โครงสร้างและการบริหารจัดการภัยพิบัติ ตามระบบ SINGLE COMMAND. 30 สิงหาคม 2555. DDPM. สำนักนายกรัฐมนตรี. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย. สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน).
E N D
DDPM โครงสร้างและการบริหารจัดการภัยพิบัติ ตามระบบ SINGLE COMMAND 30 สิงหาคม 2555
DDPM สำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)
การบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย ภายใต้แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๓ – ๒๕๕๗ การป้องกัน การเตรียมความพร้อม การรับมือ การฟื้นฟู/เยียวยา คณะอนุกรรมการ ๖ คณะ กยน. ที่ปรึกษา กปภ.ช. กนอช. บก.ปภ.ช. บูรณาการ ๑๗ กระทรวง บูรณาการ ๑๗ กระทรวง ข้อมูล/นโยบาย ด้านน้ำ/อุทกภัย ศอร.ปภ.ช กบอ. หน่วยปฏิบัติการส่วนหน้า ในพื้นที่รับผิดชอบ คลังข้อมูล War Room สบอช. องค์กรการกุศล/อาสาสมัคร ศปภ. เขต ๑๘ เขต หน่วยงานของรัฐ กอ.ปภ.จ.๗๖ จังหวัด กอ.ปภ.กทม. หน่วยงานของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัด/อำเภอ ภาคเอกชน/องค์กรการกุศล กอ.ปภ.อ. ๘๗๘ อำเภอ เขต กทม.๕๐ เขต กอ.ปภ.อบต. ๕,๗๖๕ แห่ง กอ.ปภ.ท. ๒,๐๑๐ แห่ง กอ.ปภ.เมืองพัทยา ปภ.มท./ 23สค.2555 1
การบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยในภาวะปกติการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยในภาวะปกติ การป้องกัน การเตรียมความพร้อม การรับมือ การฟื้นฟู/เยียวยา คณะกรรมการนโยบายน้ำและ อุทกภัยแห่งชาติ (กนอช.) กยน. คณะกรรมการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ (กปภ.ช) คณะอนุฯ 5 คณะ + • คลังข้อมูล • การพยากรณ์ • - การเตือนภัย ศูนย์อำนวยการร่วมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ(ศอร.ปภ.ช.) คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย (กบอ.) สำนักงานนโยบายและบริหาร จัดการน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ (สบอช.) ศูนย์บัญชาการส่วนหน้า ศูนย์บัญชาการส่วนหน้า หน่วยงานของรัฐ องค์กรการกุศล/อาสาสมัคร/ภาคเอกชน กอ.ปภ.จ.76 จังหวัด ศปภ.เขต 18 เขต กอ.ปภ.กทม. สำนักวิชาการและวิเคราะห์โครงการ ศูนย์ปฏิบัติการบริหารจัดการน้ำ สำนักงานเลขาธิการ สำนักติดตามและ ประเมินผล สำนักส่งเสริมการมี ส่วนร่วมและมวลชนสัมพันธ์ กอ.ปภ.อ. 878 อำเภอ เขต กทม.50 เขต กอ.ปภ.อบต. 5,765 แห่ง กอ.ปภ.เมืองพัทยา กอ.ปภ.ท. 2,010 แห่ง 2
กองบัญชาการ ปภ.แห่งชาติ กองอำนวยการกลาง (ปภ.) 1 4 2 3 นายกรัฐมนตรี ม.31 แห่ง พ.ร.บ.ปภ.2550 ผู้บัญชาการ ปภ.แห่งชาติ /รมว.มหาดไทย ผู้อำนวยการกลาง/อธิบดี ปภ. ผู้อำนวยการจังหวัด /ผู้ว่าราชการจังหวัด กองอำนวยการ ปภ. จังหวัด รองผู้อำนวยการจังหวัด/นายก อบจ. กอ. ปภ. อำเภอ ผู้อำนวยการอำเภอ /นายอำเภอ กอ. ปภ. เทศบาล /อบต.ข้างเคียง กองอำนวยการ ปภ. เทศบาล/อบต. ผู้อำนวยการท้องถิ่น / นายกเทศมนตรี/นายก อบต.
การเผชิญเหตุ/บัญชาการเหตุการณ์ (Single Command) ภายใต้ พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 กรณีเกิดอุทกภัยความรุนแรง ระดับ 1 (ขนาดร้ายแรงน้อย) อุทกภัยขนาดเล็ก: องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล / อบต./เมืองพัทยา)สามารถควบคุมสถานการณ์ ระงับภัยได้โดยลำพังตามขีดความสามารถไม่ต้องการกำลังสนับสนุนจากภายนอกผู้อำนวยการท้องถิ่น/ผู้อำนวยการอำเภอ เป็นผู้ควบคุมสถานการณ์/บัญชาการเหตุการณ์ กอ.ปภ.เมืองพัทยา กอ.ปภ.เทศบาล (2,010 แห่ง) กอ.ปภ.อบต. (5,765 แห่ง) กอ.ปภ.อำเภอ ( 878 อ.) นายอำเภอ (เป็นผู้อำนวยการ) สนับสนุนการปฏิบัติ สนับสนุนการปฏิบัติ นายก อบต. (เป็นผู้อำนวยการ) นายกเมืองพัทยา (เป็นผู้อำนวยการ) นายกเทศมนตรี (เป็นผู้อำนวยการ) ซึ่งกันและกัน ซึ่งกันและกัน พื้นที่ประสบภัย พื้นที่ประสบภัย พื้นที่ประสบภัย กอ.ปภ. หมายถึง กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 3
การเผชิญเหตุ/บัญชาการเหตุการณ์ (Single Command) ภายใต้ พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 กรณีเกิดอุทกภัยความรุนแรง ระดับ 2 (ขนาดภัยร้ายแรงปานกลาง) อุทกภัยขนาดกลาง: เกินขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล/อบต./เมืองพัทยา) อำเภอ (นายอำเภอ) และเขตใน กทม. ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์และบริหารจัดการระงับภัยได้โดยลำพัง ผู้อำนวยการจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัด) / ผู้อำนวยการ กทม. (ผู้ว่าราชการ กทม.) กรณีในพื้นที่ กทม. เข้าควบคุมสถานการณ์/บัญชาการเหตุการณ์ ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้าจังหวัด ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้า กทม. กอ.ปภ.จังหวัด (76 จว.) กอ.ปภ.กทม. ผู้ว่าราชการจังหวัด (เป็นผู้อำนวยการ) ผู้ว่าราชการ กทม. (เป็นผู้อำนวยการ) กอ.ปภ.เขต (50 เขต) กอ.ปภ.อำเภอ (878 อ.) กอ.ปภ.เมืองพัทยา กอ.ปภ.อบต. กอ.ปภ.เทศบาล ผู้อำนวยการเขต (เป็นผู้อำนวยการ) นายอำเภอ (เป็นผู้อำนวยการ) 4 กอ.ปภ. หมายถึง กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การเผชิญเหตุ/บัญชาการเหตุการณ์ (Single Command) ภายใต้ พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 กรณีเกิดอุทกภัยความรุนแรง ระดับ 3 (ขนาดร้ายแรงสูง) อุทกภัยขนาดใหญ่ : เกิดผลกระทบรุนแรงกว้างขวาง มีพื้นที่เสียหาย เป็นบริเวณกว้าง เกินขีดความสามารถของจังหวัด ผู้อำนวยการจังหวัด (ผู้ว่าราชการจังหวัด) ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์ได้ ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญ/อุปกรณ์พิเศษ/กำลังสนับสนุนระดม สรรพกำลังทุกภาคส่วน เพื่อตอบโต้เหตุฉุกเฉิน/บรรเทาภัย ผู้อำนวยการกลาง (อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) หรือผู้บัญชาการ ปภ.แห่งชาติ (รมว.มท.) เป็นผู้ควบคุมสถานการณ์/บัญชาการเหตุการณ์ กนอช. ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้าจังหวัด ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้า กทม. สนับสนุนข้อมูลน้ำ กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (บก.ปภ.ช.) กปภ.ช. สนับสนุนนโยบาย แผนฯ กอ.ปภ.จังหวัด (76 จว.) กอ.ปภ.กทม. กบอ. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ผบ.ปภ.ช.) การเตือนภัย สบอช. ผู้ว่าราชการจังหวัด (เป็นผู้อำนวยการ) ผู้ว่าราชการ กทม. (เป็นผู้อำนวยการ) กอ.ปภ.เขต (50 เขต) กอ.ปภ.อำเภอ (878 อ.) นายอำเภอ (เป็นผู้อำนวยการ) ผู้อำนวยการเขต (เป็นผู้อำนวยการ) กนอช หมายถึง คณะกรรมการนโยบายน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ กบอ หมายถึง คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย สบอช หมายถึง สำนักงานนโยบายและบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย แห่งชาติ ผบปภ ช หมายถึง ผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ กอ ปภ หมายถึง กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กอ.ปภ.เทศบาล กอ.ปภ.อบต. กอ.ปภ.เมืองพัทยา (2,010 แห่ง) (5,765 แห่ง) นายกเมืองพัทยา นายกเทศมนตรี นายก อบต. (เป็นผู้อำนวยการ) (เป็นผู้อำนวยการ) (เป็นผู้อำนวยการ)
การเผชิญเหตุ/บัญชาการเหตุการณ์ (Single Command) ภายใต้ พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 กรณีเกิดอุทกภัยความรุนแรง ระดับ 4 (ขนาดร้ายแรงอย่างยิ่ง) อุทกภัยขนาดใหญ่มาก: เกิดผลกระทบร้ายแรงอย่างยิ่ง ระดับวิกฤติการณ์ มีผลกระทบต่อชีวิตและทรัพย์สิน ความเป็นอยู่และขวัญกำลังใจของประชาชนจำนวนมากอย่างร้ายแรง ผู้อำนวยการกลาง (อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย) หรือผู้บัญชาการ ปภ.แห่งชาติ (รมว.มท.) ไม่สามารถควบคุมสถานการณ์/แก้ไขปัญหา/ระงับภัยได้ นายกรัฐมนตรีหรือรองนายกรัฐมนตรีที่ได้รับมอบหมายใช้อำนาจตาม ม.31 แห่ง พ.ร.บ.ปภ. 2550 ควบคุมสถานการณ์/บัญชาการเหตุการณ์ทุกพื้นที่ทั่วราชอาณาจักร นายกรัฐมนตรี กนอช. Single Command (ผู้บัญชาการเหตุการณ์) ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้าจังหวัด ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้า กทม. กอ.ปภ.กทม. กอ.ปภ.จังหวัด (76 จว.) กบอ. สนับสนุนข้อมูล กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (บก.ปภ.ช.) กปภ.ช. สบอช. สนับสนุนนโยบาย แผนฯ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย (ผบ.ปภ.ช.) การเตือนภัย ผู้ว่าราชการจังหวัด (เป็นผู้อำนวยการ) ผู้ว่าราชการ กทม. (เป็นผู้อำนวยการ) กอ.ปภ.อำเภอ (878 อ.) กอ.ปภ.เขต (50 เขต) ผู้อำนวยการเขต (เป็นผู้อำนวยการ) นายอำเภอ (เป็นผู้อำนวยการ) กนอช หมายถึง คณะกรรมการนโยบายน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ กบอ หมายถึง คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย สบอช หมายถึง สำนักงานนโยบายและบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ ผบ ปภ ช หมายถึง ผู้บัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ กอ ปภ หมายถึง กองอำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กอ.ปภ.เทศบาล กอ.ปภ.อบต. กอ.ปภ.เมืองพัทยา (2,010 แห่ง) (5,765 แห่ง) นายกเมืองพัทยา นายกเทศมนตรี นายก อบต. (เป็นผู้อำนวยการ) (เป็นผู้อำนวยการ) (เป็นผู้อำนวยการ)
การเผชิญเหตุ/บัญชาการเหตุการณ์ (Single Command) ภายใต้ พ.ร.บ. ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 โครงสร้างกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (บก.ปภ.ช.) กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (บก.ปภ.ช.) รมว.ตปท. , รมว.กค. , รมว.พณ. , รมว.ทศ. , รมว.พม. , รมว.ยธ. , รมต.สนร. ฯลฯ ส่วนแผนปฏิบัติการ ส่วนสนับสนุน ส่วนอำนวยการและปฏิบัติการ รมว.กห. , รมว.กษ. , รมว.ตปท. , รมว.สธ. , รมต.สนร. รมว.พณ. , รมว.ทส. , รมว.พม. ผบ.เหล่าทัพ , สมช. , ผบ.สตช. ฯลฯ รมว.ทศ. , รมว.อก. , รมว.ทส. , รมต.สนร. ,สบอช. , สมช. ฯลฯ ศอร.ปภ.ช. รมว.คค. กบอ. รมว.วท รมว.มท. • คมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ • ประสานต่างประเทศ • เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร • สนับสนุนทั่วไป • รับเรื่องราวร้องทุกข์ • ประสานองค์กรการกุศล มูลนิธิและอาสาสมัคร • ฟื้นฟู บูรณะสิ่งสาธารณประโยชน์ • ช่วยเหลือเยียวยาและสงเคราะห์ผู้ประสบภัย • ประชาสัมพันธ์และประสานสื่อมวลชน • งบประมาณ การเงินและบัญชี และรับบริจาค • กฎหมาย • วิเคราะห์ ติดตามประเมินสถานการณ์ และเสนอทางเลือก • กำกับ ติดตามและประเมินผล • จัดสรรและติดตามทรัพยากร • บูรณาการแผนปฏิบัติการ • วิชาการและสนับสนุนผู้เชี่ยวชาญ • สนับสนุนการสั่งการ • บรรเทาสาธารณภัยกลาโหม/เหล่าทัพ • การแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณสุข • รักษาความปลอดภัยในภาวะวิกฤต • บรรเทาสาธารณภัยพลเรือน • บรรเทาสาธารณภัย สนง.ตำรวจแห่งชาติ • ประสานการปฏิบัติ • สื่อสารโทรคมนาคมในภาวะฉุกเฉิน • ปฏิบัติการค้นหาและกู้ภัย 7
DDPM โครงสร้างศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้า (กอ.ปภ.จ./อ./อปท./กทม.) ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้า ส่วนอำนวยการ /สั่งการ ส่วนแผนปฏิบัติการ/วิเคราะห์/ ประเมินสถานการณ์ ส่วนปฏิบัติการ ส่วนสนับสนุน ส่วนบริหารและการเงิน ส่วนประชาสัมพันธ์/ประสานงาน/ รักษาความปลอดภัย • จัดหาและรับ-ส่งเครื่องอุปโภค บริโภค • ส่งกำลังบำรุงหน่วยปฏิบัติทั้งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ • สนับสนุนเครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องจักรกล บุคลากร อาสาสมัคร อาหาร เครื่องดื่ม น้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น ฯลฯ • การคมนาคมและขนส่ง • ดำรงการสื่อสาร • สนับสนุนด้านการแพทย์ • ประสานความช่วยเหลือจากต่างประเทศ • เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์ • ปฏิบัติการค้นหา ช่วยชีวิตกู้ภัย และรายงานสถานการณ์ • รายงานข้อมูลย้อนกลับ • ปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน • ตรวจสอบและติดตาม • ผู้สูญหาย • พิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล • อพยพผู้ประสบภัย • ลงทะเบียนตรวจสอบผู้อพยพ • สถาปนาระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ฯลฯ • ซ่อมแซมอาคารบ้านเรือน สิ่งสาธารณประโยชน์ • จัดหาที่พักอาศัยชั่วคราว/บ้านน๊อคดาวน์/เต็นท์ฯลฯ • รื้อถอนซากปรักหักพัง/ • ทำความสะอาด • รับเรื่องร้องเรียน • เผยแพร่ประชาสัมพันธ์สถานการณ์ การแก้ไขปัญหา การให้ความช่วยเหลือ • ทำความเข้าใจสื่อมวลชน ถูกต้อง ชัดเจน เป็นไปในแนวทางเดียวกัน • จัดตั้งศูนย์รวมข้อมูลข่าวสาร เพื่อการประชาสัมพันธ์และ • แถลงข่าว • รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของผู้ประสบภัย • ควบคุมและจัดระเบียบการจราจรในภาวะฉุกเฉิน • อำนวยความปลอดภัย • ในการอพยพ • บัญชาการเหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉิน • บูรณาการ • หน่วยงานและสนธิ • กำลัง • กำหนดนโยบาย/ • วิธีปฏิบัติในภาวะ • ฉุกเฉิน • แจ้งเตือน • ประกาศภัยพิบัติ • ฉุกเฉิน • อำนวยการและประสานการปฏิบัติ • ทุกภาคส่วน • จัดหางบประมาณช่วยเหลือฉุกเฉิน • การจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติฉุกเฉิน ตามระเบียบของทางราชการ • การเงินและบัญชี • รับบริจาคเงินและสิ่งของ บริหารจัดการเงินและสิ่งของบริจาค รวมทั้งสิ่งของพระราชทาน • จัดหาค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน • วิเคราะห์และ • ประเมิน • สถานการณ์ • กำหนดและบูรณาการแผนปฏิบัติการฉุกเฉินของทุกหน่วยงาน • บูรณาการ ประสาน เชื่อมโยงข้อมูล และจัดตั้งศูนย์ข้อมูลรวม • จัดสรรและติดตามทรัพยากร • กำกับและติดตามผล • กฎหมาย