1 / 44

การวางแผนสำหรับโครงงาน ( Project Planning)

การวางแผนสำหรับโครงงาน ( Project Planning). การวางแผนโครงการด้วย PERT/CPM.

Télécharger la présentation

การวางแผนสำหรับโครงงาน ( Project Planning)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวางแผนสำหรับโครงงาน(Project Planning)

  2. การวางแผนโครงการด้วย PERT/CPM • โครงการ (project) มีลักษณะแตกต่างจากงานประจำในแง่ของเวลาและการดำเนินการ โครงการจะประกอบด้วยกิจกรรมซึ่งมีจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งโครงการ คือ งานที่มีเวลาแล้วเสร็จ แตกต่างกับงานประจำซึ่งไม่มีเวลาสิ้นสุดของการทำงาน การวางแผนโครงการก็มีลักษณะคล้ายคลึงกับการวางแผนงานอื่นๆ คือ การกำหนดแนวทางปฏิบัติว่าจะต้องทำอะไรบ้าง เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ

  3. การวางแผนโครงการก็มีขั้นตอนต่างๆ โดยเริ่มจากการกำหนด เป้าหมาย ของโครงการ ซึ่งประกอบด้วยทรัพยากรที่ต้องการ เวลาแล้วเสร็จของโครงการและผลลัพธ์ที่จะได้ การกำหนดและมอบหมายงานให้แก่ผู้มีส่วนร่วมในโครงการ การประมาณการเวลาที่ต้องใช้และทรัพยากรที่ต้องการในการทำกิจกรรมต่างๆ ในโครงการ โดยอาศัย วิธีการพยากรณ์ การวางแผนการใช้เงินตลอดจนการควบคุมงบประมาณให้อยู่ภายในปริมาณที่กำหนด และประการสุดท้ายผู้บริหารโครงการจะต้องกำหนดนโยบายเพื่อการทำกิจกรรมว่า กิจกรรมจะมีผลกระทบต่อการดำเนินโครงการมากที่สุดในแง่ของเวลาที่แล้วเสร็จของโครงการ และในกรณีที่ต้องเร่งโครงการให้เสร็จเร็วขึ้นกว่าที่วางแผนไว้ ผู้บริหารโครงการจะต้องกำหนดว่าควรจะใช้ทรัพยากรในกิจกรรมใดเพื่อเร่งรัดให้โครงการเสร็จเร็วขึ้นได้ตามที่ต้องการ นอกจากนี้ ผู้บริหารโครงการยังจะต้องกำหนดลำดับการทำงานก่อนหลังของกิจกรรมต่างๆ ในโครงการว่า จะต้องทำกิจกรรมใดก่อนหลังกันอย่างไร

  4. โดยสรุปสำหรับผู้บริหารโครงการ สิ่งซึ่งจำเป็นจะต้องรู้เพื่อการวางแผนและควบคุมโครงการได้อย่างมีประสิทธิภาพ คือ • ในโครงการมีกิจกรรมหรืองานย่อยอะไรบ้างที่จะต้องทำ แต่ละกิจกรรมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร กิจกรรมใดต้องทำก่อน กิจกรรมใดต้องทำหลังจากกิจกรรมใด และเวลาที่ต้องใช้ในการทำแต่ละกิจกรรมเป็นเท่าใด • โครงการที่ทำมีเวลาแล้วเสร็จเป็นเท่าไร • ในบรรดากิจกรรมต่างๆ มีกิจกรรมใดบ้างที่ถือว่าเป็นกิจกรรมวิกฤต (critical activity) ซึ่งหมายถึงกิจกรรมที่เมื่อเกิดล่าช้าไปกว่าที่กำหนด จะมีผลกระทบต่อเวลาแล้วเสร็จทั้งหมดของโครงการ • ในบรรดากิจกรรมต่างๆ มีกิจกรรมใดบ้างที่เมื่อเกิดการล่าช้า จะไม่มีผลกระทบต่อเวลาแล้วเสร็จของโครงการ และกิจกรรมเหล่านี้อาจล่าช้าได้นานมากที่สุดเท่าใด จึงจะไม่มีผลต่อเวลาแล้วเสร็จของโครงการ • ในกรณีที่ต้องการเร่งให้โครงการเสร็จเร็วขึ้นกว่าที่กำหนด จะต้องทำการเร่งรัดกิจกรรมใดบ้าง และจะทำอย่างไรจึงทำให้ต้นทุนการเร่งรัดกิจกรรมถูกที่สุด

  5. การวางแผนโครงการด้วยวิธีการอื่นๆการวางแผนโครงการด้วยวิธีการอื่นๆ

  6. รูป GANTT CHART แสดงลำดับและเวลาการดำเนินงาน

  7. การวิเคราะห์ข่ายงาน PERT/CPM การวิเคราะห์ข่ายงาน PERT/CPM มีวัตถุประสงค์เพื่อหาวิถีวิกฤตของโครงการ ขั้นตอนการวิเคราะห์ข่ายงานประกอบด้วย • การแยกแยะงาน (job breakdown)เป็นขั้นตอนการแจกแจงของกิจกรรมต่างๆ ที่จำเป็นต้องทำในโครงการทั้งหมดว่า มีกิจกรรมอะไรบ้างที่ต้องทำ กิจกรรมต่างๆ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร กิจกรรมใดต้องทำก่อน กิจกรรมใดต้องทำหลัง • การประมาณการเวลาของกิจกรรม (activity time estimation)เป็นการประมาณการเวลาที่ต้องใช้ทำแต่ละกิจกรรมโดยอาศัยผู้ชำนาญงานในแต่ละกิจกรรม

  8. สำหรับข่ายงาน CPM การประมาณการจะทำโดยประมาณการเพียงค่าเดียว โดยถือว่าค่านี้มีความเป็นไปได้มากที่สุด มีโอกาสน้อยมากที่จะเกิดความคลาดเคลื่อนซึ่งเป็นแบบ Deterministic • ถ้าข้อมูลเวลาการทำงานของแต่ละงานไม่ค่อยแน่นอนโดยที่เราสามารถกำหนดหาความน่าจะเป็นของเวลาเหล่านั้น เรียกว่า PERT ซึ่งเป็นแบบ Probabilistic

  9. 1. ขั้นตอนการดำเนินงาน • ศึกษาโครงงานที่เกี่ยวข้องเพื่อกำหนดชนิดของงาน • กำหนดช่วงเวลา หรือระยะเวลาซึ่งจะใช้ในการทำงานแต่ละขั้นตอน • ปรับปรุงโครงงาน

  10. 2. การตั้งรูปแบบปัญหาการวางแผนสำหรับโครงงาน • ใช้ประโยชน์จากการสร้างโครงข่าย ด้วยไดอะแกรมลูกศร • ลูกศร แทน ความหมายของขั้นตอนของงานต่างๆ ในโครงงาน • node แทน ความหมายของเวลาเริ่มต้น และเวลาสิ้นสุดของงาน • เส้นปะ แทน ขั้นตอนของงานสมมติ เพื่อช่วยในการหาผลลัพธ์

  11. การเขียนข่ายงาน a b 1 2 3 3 a 1 2 b 3 b a 1 2

  12. ตัวอย่าง Dummy Activity 2 c a 1 4 F=Dummy b 3

  13. กฎเกณฑ์ในการเขียนโครงข่ายของโครงงานกฎเกณฑ์ในการเขียนโครงข่ายของโครงงาน • งานแต่ละงานจะใช้แทนด้วยเส้นตรงมีลูกศร เส้นตรงหนึ่งเส้นจะแทนด้วยงานเพียงหนึ่งงานเท่านั้น • งานสองงานที่เริ่มทำไปพร้อมกัน จะมีจุดเริ่มต้นเดียวกัน แต่จะมีจุดสิ้นสุดเดียวกันไม่ได้ เพราะนั้นจะหมายถึงงานทั้งสองงานนั้นเริ่มต้นและสิ้นสุดลงพร้อมกัน......ปัญหานี้จะนำ Dummy เข้ามาช่วย a a 1 1 2 3 b b 3 2

  14. ตัวอย่าง 1

  15. ภาพข่ายงาน 2 a d b 1 F=d1 3 5 G=d2 c 4 e

  16. ตัวอย่าง 2 • โครงการแนะนำผลิตภัณฑ์ใหม่ออกสู่ท้องตลาด มีกิจกรรมต่างๆ ที่ต้องทำดังแสดงในตารางต่อไปนี้ จงเขียนข่ายงาน PERT/CPM และวิเคราะห์หาเวลาที่ต้องใช้ในการทำโครงการและกิจกรรมที่เป็นกิจกรรมวิกฤตของโครงการ

  17. ตัวอย่าง 3

  18. c 6 2 g a d h 5 i 7 1 4 j b e f 8 3

  19. ตัวอย่าง 4 • งานก จะต้องทำก่อนทุกงาน • งาน ข จะต้องเสร็จก่อนงาน ค จะเริ่ม • งาน จ จะทำได้ต่อเมื่องาน ค และ ง เสร็จแล้ว • งาน ฉ จะทำได้ต่อเมื่องาน จ และ ซ เสร็จแล้ว • งาน ช จะเริ่มได้ภายหลังจากงาน ฉ และ ฆ

  20. 4. วิเคราะห์หางานวิกฤติ (critical path analysis) • หลังจากเขียนข่ายงานเสร็จแล้วขั้นตอนสุดท้ายคือการหาเส้นทางวิกฤติของข่ายงาน จากเส้นทางวิกฤตินี้จะทำให้ทราบถึงเวลาแล้วเสร็จของโครงการว่าเป็นเท่าใด และกิจกรรมใดบ้างที่อยู่ในเส้นทางวิกฤติ ซึ่งจะทำไปสู่การวางแผนตัดสินใจเพื่อควบคุมโครงการ หรือเร่งรัดโครงการต่อไป

  21. พิจารณาโครงสร้างต่อไปนี้พิจารณาโครงสร้างต่อไปนี้ 3 6 4 1 2 4 5 2 6 3 เส้นทางวิกฤติคือ 1-2 ,2-4 และ 4-5 ซึ่งใช้เวลาอย่างน้อยที่สุดทั้งโครงการเท่ากับ 13 วัน ซึ่งการจะทำให้โครงการเสร็จเร็วกว่านี้ต้องลดเวลาการทำงานในเส้นทางวิกฤติเท่านั้น ไม่มีประโยชน์ในการลดเวลาในเส้นทางอื่นๆ

  22. พื้นฐานการวิเคราะห์ข่ายงานพื้นฐานการวิเคราะห์ข่ายงาน ในการคำนวณหาวิถีวิกฤตจำเป็นต้องทราบถึงนิยามต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ดังต่อไปนี้คือ • เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุด (earliest start, ES)หมายถึง เวลาเร็วที่สุดที่กิจกรรมจะสามารถเริ่มต้นทำได้ • เวลาแล้วเสร็จเร็วที่สุด (earliest finish, EF)หมายถึง เวลาเร็วที่สุดที่กิจกรรมสามารถทำเสร็จได้ • เวลาเริ่มต้นช้าที่สุด (Latest start, LS)หมายถึง เวลาช้าที่สุดที่กิจกรรมจะสามารถเริ่มต้นได้ โดยไม่ทำให้เวลาแล้วเสร็จของโครงการล่าช้าไปกว่าที่วางแผนไว้ • เวลาแล้วเสร็จช้าที่สุด (Latest finish, LF)หมายถึง เวลาช้าที่สุดที่กิจกรรมจะสามารถทำเสร็จได้ โดยไม่ทำให้เวลาแล้วเสร็จของโครงการล่าช้าไปกว่าที่วางแผนไว้

  23. พื้นฐานการวิเคราะห์ข่ายงานพื้นฐานการวิเคราะห์ข่ายงาน ในการคำนวณหาวิถีวิกฤตจำเป็นต้องทราบถึงนิยามต่างๆ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ดังต่อไปนี้คือ (ต่อ) • เวลาลอยตัวอิสระ (free float, FF)หมายถึง เวลาที่กิจกรรมสามารถเลื่อนเวลาเริ่มต้นหรือทำล่าช้าออกไปจากที่กำหนด โดยไม่มีผลกระทบที่จะทำให้เวลาแล้วเสร็จของโครงการเสร็จล่าช้ากว่ากำหนด และไม่มีผลทำให้กำหนดเวลาเริ่มต้นของกิจกรรมอื่นที่ตามหลังต้องเลื่อนตามไปด้วย • เวลาลอยตัวรวม (total float, TF)หมายถึง เวลาที่กิจกรรมสามารถเลื่อนเวลาเริ่มต้นหรือทำล่าช้าออกไปจากที่กำหนด โดยไม่มีผลกระทบที่จะทำให้เวลาแล้วเสร็จของโครงการเสร็จล่าช้ากว่าที่กำหนด แต่อาจทำให้เวลาเริ่มต้นเร็วที่สุดของกิจกรรมที่ตามหลังเลื่อนตามไปด้วย

  24. วิถีวิกฤต (critical path) Critical path method มีส่วนซึ่งใช้ในการกำหนดหางานวิกฤติ 2 ส่วน • Forward pass คือ ส่วนการกำหนดจากเวลาเริ่มต้นไปถึงเวลาสิ้นสุดของโครงการ โดยคิดหาผลลัพธ์ของเวลาเริ่มต้นเร็วสุดของ node ทุก node ในโครงข่ายของโครงงานซึ่งใช้สัญลักษณ์  แทนความหมายของการเริ่มต้นเร็วสุดของแต่ละ node คำนวณได้ดังนี้ ESj = Maxi (ESi + Dij) ESj = เวลาเริ่มต้นเร็วสุดของ node j ESi = เวลาเริ่มต้นเร็วสุดของ node i ใดๆ Dij = เวลาทำงานของงาน i-j สำหรับ i ใดๆ

  25. 3 7 6 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4

  26. 3 7 0 6 0 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4

  27. 3 7 0 6 0 0+1 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4

  28. 6+1 3 7 0 6 0 0+1 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4

  29. 7 3 7 0 6 0 1 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 1+8 , 7+3

  30. 7 3 7 0 6 0 1 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 10

  31. 7 3 7 0 6 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 10

  32. วิถีวิกฤต (critical path) Critical path method มีส่วนซึ่งใช้ในการกำหนดหางานวิกฤติ 2 ส่วน (ต่อ) • Backward pass คือ ส่วนการกำหนดจากเวลาสิ้นสุดของโครงงานไล่กลับมาถึงเวลาเริ่มต้นในโครงข่ายของโครงงานซึ่งใช้สัญลักษณ์  แทนความหมายของการเสร็จช้าสุดของแต่ละ node คำนวณได้ดังนี้ LFi = Minj (LFj - Dij) LFi = เวลาแล้วเสร็จช้าสุดของ node i LFj = เวลาแล้วเสร็จช้าสุดของ node j ใดๆ Dij = เวลาทำงานของงาน i-j สำหรับ i ใดๆ

  33. 7 3 7 0 6 15 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 10

  34. 7 3 7 0 6 15 15-1 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 10

  35. 7 3 7 0 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 14-3 10

  36. 11-3 , 14-7 7 3 7 0 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 11 10

  37. 7 7 3 7 0 7-6 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 11 10

  38. 7 7 3 7 0 1 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 11 10

  39. 7 7 3 7 0 1 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 11 10 ผลต่างของหัวลูกศรและท้ายลูกศรใน แต่ละจุดยอดวิกฤติจะเป็นเวลาวิกฤติ และรวมแล้ว = 15

  40. 7 7 3 7 0 1 6 15 14 0 1 15 14 1 1 3 1 2 5 6 8 3 4 11 10 ส่วนใดที่ ESi = LFiจะเรียกจุดนั้นว่า จุดยอดวิกฤติ และ ณ จุดยอดนั้นจะมีเส้นทางวิกฤติอยู่

  41. จากตัวอย่างที่ 2 ลองหาเส้นทางวิกฤติ และ เวลา วิกฤติ.....

More Related