1 / 107

จีเอ็มโอ (GMOs) และ ความปลอดภัยทางชีวภาพ

จีเอ็มโอ (GMOs) และ ความปลอดภัยทางชีวภาพ. จัดทำโดย โปรแกรมความปลอดภัยทางชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ. ความเข้าใจในเรื่องของจีเอ็มโอ - คืออะไร - พัฒนามาได้อย่างไร และทำไมจึงต้องใช้จีเอ็มโอ - ประโยชน์และความเสี่ยง ความเข้าใจในเรื่องของความปลอดภัยทางชีวภาพ

clancy
Télécharger la présentation

จีเอ็มโอ (GMOs) และ ความปลอดภัยทางชีวภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. จีเอ็มโอ (GMOs)และความปลอดภัยทางชีวภาพ จัดทำโดย โปรแกรมความปลอดภัยทางชีวภาพ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ

  2. ความเข้าใจในเรื่องของจีเอ็มโอความเข้าใจในเรื่องของจีเอ็มโอ - คืออะไร - พัฒนามาได้อย่างไร และทำไมจึงต้องใช้จีเอ็มโอ - ประโยชน์และความเสี่ยง • ความเข้าใจในเรื่องของความปลอดภัยทางชีวภาพ - แนวความคิดที่เกี่ยวกับความปลอดภัยทางชีวภาพ - การประเมินความเสี่ยง - การกำกับดูแลความปลอดภัยทางชีวภาพ

  3. จีเอ็มโอ =GMO - Genetically Modified Organism = สิ่งมีชีวิตที่ได้รับการดัดแปลงพันธุกรรมโดยวิธีพันธุวิศวกรรม หรือได้มาจาก recombinant DNA technology หรือวิธีการที่ เรียกว่า Modern Biotechnology ราชบัณฑิตยสถาน บัญญัติศัพท์คำนี้ว่า สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม

  4. พืชแปลงพันธุ์ พืชจำลองพันธุ์ พืชตัดต่อสารพันธุกรรม พืชดัดแปรพันธุกรรม พืชตัดแต่งสารพันธุกรรม พืชดัดแปลงพันธุกรรม พืชจีเอ็มโอ

  5. พืชดัดแปรพันธุกรรมหรือพืชจีเอ็มโอคืออะไรพืชดัดแปรพันธุกรรมหรือพืชจีเอ็มโอคืออะไร คือ พืชที่ได้รับการดัดแปลงยีนหรือสารพันธุกรรม โดยวิธีพันธุวิศวกรรม (genetic engineering)

  6. การดัดแปลงยีนด้วยวิธีการปกติการดัดแปลงยีนด้วยวิธีการปกติ

  7. ขั้นตอนทางพันธุวิศวกรรมขั้นตอนทางพันธุวิศวกรรม

  8. Promoter 35S CaMV (Cauliflower Mosaic Virus) Terminator NOS 3’ (Agrobacterium tumefaciens) Marker gene NPTII gene kanamycin resistance (Esherichia coli) องค์ประกอบของชุดยีนที่ถ่ายฝาก

  9. HR-EPSPS gene GTS 40-3-2 Agrobacterium tumefaciens (CP4) IR-cry1Ac gene MON 531 Bacillus thuringiensis subsp. kurstaki HD-73 IR-cry1Ab gene EVENT 176 Bacillus thuringiensis subsp. kurstaki ที่มาของยีนถ่ายฝาก

  10. ความแตกต่างระหว่างพืชปกติและความแตกต่างระหว่างพืชปกติและ พืชดัดแปรพันธุกรรม

  11. ความแตกต่าง ระหว่าง พืชปกติ และ พืชดัดแปร พันธุกรรม

  12. …….“ หากดูภายนอก (พืช) อาหารจีเอ็มโอ ไม่ได้มีลักษณะที่แตกต่างจาก (พืช) อาหารทั่วไปแต่อย่างใด แต่โครงสร้างของยีนภายใน แตกต่างโดยสิ้นเชิง “ ……..

  13. ทำไมจึงต้องเป็น จีเอ็มโอ • จำนวนประชากรโลก • ปี 2541 = 5.9 พันล้านคน • ปี 2593 = 8.9 พันล้านคน การเพิ่มขึ้นจาก 1 เป็น 2 พันล้านคน ใช้เวลา 123 ปี (2347-2470) การเพิ่มขึ้นจาก 5 เป็น 6 พันล้านคน ใช้เวลา 12 ปี (2530-2542)

  14. การผลิตพืชและสัตว์ • อัตราการผลิตพืชและสัตว์ ปี 2541มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.1 • เป็นอัตราการขยายตัวต่ำสุด ตั้งแต่ปี 2536 เป็นต้นมา • คาดว่า ปี 2542 อัตราการขยายตัว • ลดลงเหลือเพียงร้อยละ 0.9

  15. ประชากรที่ขาดอาหาร • ประชากรโลกประมาณ 826 ล้านคน ยังได้รับอาหารไม่เพียงพอ • 792 ล้านคน อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา • 34 ล้านคน อยู่ในประเทศที่พัฒนาแล้ว • ทุกๆ 1 นาที อย่างน้อย 30 คนที่ตายเพราะ • ขาดอาหาร • ในจำนวนนั้นครึ่งหนึ่งจะเป็นเด็ก

  16. การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร • การปฏิวัติเขียว - การเพาะปลูกที่ใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่นการใช้ • เมล็ดพันธุ์พืชใหม่ ปุ๋ย และแทรกเตอร์ เริ่มตั้งแต่ปี 2503 • ในปัจจุบัน เทคโนโลยีบางอย่าง • คาดว่า จะส่งผลกระทบทางลบต่อ • สังคมและสิ่งแวดล้อม • ขณะเดียวกันอัตราการเพิ่มขึ้นของ • ผลผลิตก็เริ่มลดลง

  17. การแก้ไขปัญหาทางด้านการผลิตพืช การแก้ไขปัญหาทางด้านการผลิตพืช • แมลงศัตรูพืช • ต้องใช้สารเคมีในการป้องกันกำจัด • พ่นสารเคมีแทบทุกสัปดาห์ ซึ่งอาจสูงถึง • 14 ครั้ง หรือมากกว่า • มลภาวะที่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม • และต่อเกษตรกร

  18. ประโยชน์ที่จะได้จากจีเอ็มโอประโยชน์ที่จะได้จากจีเอ็มโอ • ในด้านผู้บริโภค • ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพดีขึ้นทั้งที่เป็นวัตถุดิบและแปรรูป • ถั่วเหลืองที่เพิ่มกรด oleic เพื่อลดปัญหาคอเลสเตอรอล • ข้าวสีทอง ที่เพิ่ม วิตามินเอ • อาหารที่ใช้เป็นยา ทีเรียกว่า edible vaccine • อาหารที่ได้รับการกำจัดสารก่อภูมิแพ้และสารต้านโภชนาการ • มีสุขภาพที่ดีขึ้นซึ่งเป็นผลที่ได้จากการบริโภคอาหารที่มีคุณภาพ

  19. ประโยชน์ที่จะได้จากจีเอ็มโอประโยชน์ที่จะได้จากจีเอ็มโอ • ในด้านผู้ผลิตและสิ่งแวดล้อม • ได้พืชที่มีความต้านทานต่อศัตรูพืชที่สร้างขึ้นใน • พืชเอง ทำให้ลดการใช้สารเคมี • ได้พืชที่มีความต้านทานต่อโรค ทำให้ผลผลิตมีคุณภาพ • ได้พืชที่ทนทานสารเคมีกำจัดวัชพืช นอกจากจะลด • การใช้สารเคมียังช่วยในการอนุรักษ์ดินและน้ำ • ได้พืชที่สามารถดูดซับโลหะหนักที่เป็นพิษ • ส่งผลให้มลภาวะที่เป็นพิษในสิ่งแวดล้อมลดลง

  20. ความเสี่ยงและความวิตกกังวลที่มาจากจีเอ็มโอความเสี่ยงและความวิตกกังวลที่มาจากจีเอ็มโอ • การกินอาหารที่ได้จากพืชจีเอ็มโอจะเป็น • อันตรายต่อสุขภาพ • - ก่อให้เกิดอาการภูมิแพ้ • - เกิดสารที่เป็นพิษต่อร่างกาย • - ดีเอ็นเอ จากสิ่งมีชีวิตอื่นอาจก่อให้เกิดโรค • - ยีนเครื่องหมายที่ต้านสารปฏิชีวนะอาจถูกส่ง • ผ่านไปยังแบคทีเรียที่เป็นเชื้อโรค

  21. พืชจีเอ็มโออาจจะคุกคามสิ่งมีชีวิตอื่นในสิ่งแวดล้อม พืชจีเอ็มโออาจจะคุกคามสิ่งมีชีวิตอื่นในสิ่งแวดล้อม • กรณี monarch butterfly • เกสรจากพืชจีเอ็มโอจะปนปนไปยังพืชปกติและพืช • ป่าใกล้ชิด กรณี คาโนล่า • พืชจีเอ็มโอจะทำให้ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง • กรณี ข้าวโพด • แมลงศัตรูพืชจะมีความต้านทานต่อสารพิษบีที

  22. พักครึ่งเวลา

  23. ความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosafety) แนวความคิดในเรื่องของความปลอดภัย เมื่อพูดถึงความปลอดภัย = safety นึกถึงอะไร การกระทำใดๆ ที่ไม่ก่อให้เกิดอันตราย คำถาม มีไหมในโลกนี้ที่ทำอะไรแล้วไม่ก่อให้เกิดอันตราย เมื่อไม่มี แล้วเราจะคุยในเรื่องของความปลอดภัยอย่างไร เช่น การเดินทางโดยรถยนต์ มีความปลอดภัยหรือไม่ ถ้าไม่ประสบอุบัติเหตุใดๆ เราก็สามารถตอบได้ว่ามีความปลอดภัย แล้วพรุ่งนี้ละ?

  24. ความถี่ที่จะเกิดอุบัติเหตุจากรถยนต์ชนกันความถี่ที่จะเกิดอุบัติเหตุจากรถยนต์ชนกัน เช่น ใน ระยะเวลา 30 วัน มีรถยนต์ชนกัน 15 ครั้ง หรือ รถยนต์มีโอกาสชนกัน 15 ครั้ง ใน 1 เดือน บอกไม่ได้ว่ามีความปลอดภัยมากน้อยขนาดไหน ต้องมีการเปรียบเทียบ ในระยะเวลา 5 ปีมีเครื่องบินตก 1 ลำ หรือ เครื่องบินมีโอกาสตก 1 ครั้ง ใน 5 ปี หรือ 60 เดือน

  25. มองอีกมุมหนึ่ง รถยนต์ชนกัน 15 ครั้ง ไม่มีคนเสียชีวิตเลย แต่เครื่องบินตก 1 ครั้ง เสียชีวิตทั้งลำ อะไรจะปลอดภัยกว่ากัน

  26. ความเสี่ยง (Risk) = โอกาสที่จะเกิด และขนาดที่เกิด นั่นคือ ถ้าเราสามารถลดความเสี่ยงได้มากเท่าไร ความปลอดภัยก็มีมากขึ้นเพียงนั้น

  27. การตกค้างของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในอาหารจำหน่ายในประเทศการตกค้างของสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในอาหารจำหน่ายในประเทศ ผลไม้ตระกูลส้ม ร้อยละ 85 ผลไม้ที่รับประทานได้ทั้งเปลือก ร้อยละ 91 (ฝรั่ง พุทรา ชมพู่) สับประรด ละมุด มะขามหวาน ร้อยละ 26 พืชผักรับประทานใบ ร้อยละ 47* พืชผักตระกูลถั่ว ร้อยละ 68* ไข่ ร้อยละ 91 เนื้อหมู ร้อยละ 33 ตับหมู ร้อยละ 100 วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปีที่ 40 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 2541

  28. สถิติผู้ป่วยจากการได้รับสารพิษ (จำนวนคน) 2538 2539 2540 2541 2542 อาหารเป็นพิษ 74,723 82,281 102,454 115,142 110,291 พิษจากการประกอบอาชีพ 3,398 3,175 3,297 4,398 4,169 (พิษสารกำจัดศัตรูพืช) เห็ดเป็นพิษ 515 623 963 969 1,136 กองระบาดวิทยา สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  29. อัตราการตายในอาชีพต่างๆ (จำนวนคน/100,000 คน) การทำเหมือง 26.8 การเกษตร 22.2 การก่อสร้าง 13.9 การขนส่ง 13.1 การค้าส่ง 5.4 การประกอบชิ้นส่วน 3.5 การค้าปลีก 3.1 การบริการ 2.2 การเงิน 1.5 Bureau of Labor Statistics, 1998

  30. พันธุวิศวกรรม Genotype cry1Ab, EPSPS Phenotype IR, HR พืชพันธุ์ใหม่ สิ่งแวดล้อม ปลูกเพื่อการค้า สุขอนามัยของมนุษย์ (อาหาร)

  31. การประเมินความเสี่ยง หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยงที่มีต่อสิ่งแวดล้อม การประเมินความเสี่ยงที่มีต่อสุขอนามัยมนุษย์ (อาหาร)

  32. หลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินความเสี่ยงหลักเกณฑ์ที่ใช้ในการประเมินความเสี่ยง จะต้องอยู่บนพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ จะต้องอยู่บนพื้นฐานของผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ จะต้องอยู่บนพื้นฐานของความคุ้ยเคย จะต้องอยู่บนพื้นฐานของแต่ละกรณีๆ ไป จะต้องอยู่บนพื้นฐานของการประเมินเป็นขั้นตอน จะต้องอยู่บนพื้นฐานที่สาธารณชนได้มีส่วนร่วม จะต้องอยู่บนพื้นฐานของความเทียบเท่า

  33. ทางด้านสิ่งแวดล้อม ประเมินอะไรบ้าง 1. การเคลื่อนย้ายยีนไปยังพืชป่าที่มีความใกล้ชิด 2. การเคลื่อนย้ายยีนไปยังสิ่งมีชีวิตอื่น 3. ศักยภาพที่จะเป็นวัชพืช 4. ผลที่มีต่อสิ่งมีชีวิตที่มิใช่เป้าหมาย

  34. การเคลื่อนย้ายยีนไปยังพืชป่าที่มีความใกล้ชิดการเคลื่อนย้ายยีนไปยังพืชป่าที่มีความใกล้ชิด สิ่งที่เป็นกังวลคือ พืชป่ากลายเป็นวัชพืชที่ไม่สามารถกำจัดได้ (ในกรณีของยีนที่ทนทานสารกำจัดวัชพืช) มีความเป็นไปได้ แต่โอกาสน้อย จัดการได้โดยใช้วิธีกลอื่นๆ

  35. การเคลื่อนย้ายยีนไปยังพืชปกติที่การเคลื่อนย้ายยีนไปยังพืชปกติที่ ไม่ใช่พืชดัดแปรพันธุกรรม สิ่งที่เป็นกังวลคือ ผลผลิตที่ได้ของพืชปกติไม่สามารถ จำหน่ายได้ในลักษณะของผลิตผลอินทรีย์ เป็นเรื่องของการจัดการ ในข้าวโพดพบว่า ในระยะห่าง 100 ฟุต จะมีโอกาสผสมข้าม เพียง 1% และที่ระยะห่าง 1000 ฟุต ไม่พบว่ามีการผสมข้าม

  36. การเคลื่อนย้ายยีนไปยังสิ่งมีชีวิตอื่นการเคลื่อนย้ายยีนไปยังสิ่งมีชีวิตอื่น สิ่งที่เป็นกังวลคือ การเคลื่อนย้ายของยีนที่ต้านทานสารปฏิชีวนะไปสู่ แบคทีเรียที่ทำให้เกิดโรค ส่งผลให้ไม่สามารถรักษาได้ มีความเป็นไปได้ในห้องปฏิบัติการ ในธรรมชาติคาดว่าจะเกิดได้เพียง 10-17 สิ่งที่ต้องคำนึง สภาพแวดล้อมที่ส่งผลให้จุลินทรีย์นั้นอยู่รอด และยีนที่เคลื่อนย้ายไปนั้นเป็นยีนตัวใหม่หรือไม่

  37. ศักยภาพที่จะเป็นวัชพืชศักยภาพที่จะเป็นวัชพืช ลักษณะวัชพืช เมล็ดมีชีวิตนาน เจริญเติบโตเร็ว ผลิตเมล็ดได้มาก แข่งขันกับพืชอื่นได้ดี พืชดัดแปรพันธุกรรม ไม่ได้ทำให้มีลักษณะ ดังกล่าว สิ่งที่กังวลคือ การกลายเป็นวัชพืชของ พืชดัดแปรพันธุกรรม

  38. ผลที่มีต่อสิ่งมีชีวิตที่มิใช่เป้าหมายผลที่มีต่อสิ่งมีชีวิตที่มิใช่เป้าหมาย สิ่งที่เป็นกังวลคือ สิ่งมีชีวิตอื่นๆ ที่มีประโยชน์จะได้รับผลกระทบ ทางลบ สิ่งมีชีวิตที่เป็นประโยชน์ แมงมุม ด้วงเต่าลาย ผึ้งน้ำหวาน และไส้เดือน เป็นต้น

  39. การประเมินความเสี่ยงที่มีต่อสุขอนามัยมนุษย์ (อาหาร) ข้อมูลทางด้านคุณค่าทางอาหาร หรือโภชนาการ ข้อมูลทางด้านความเป็นพิษ ข้อมูลทางด้านการเป็นสารภูมิแพ้ ระดับของสารต้านโภชนาการ

  40. ข้อมูลทางด้านคุณค่าทางอาหาร หรือโภชนาการ ด้วยความเป็นห่วงว่า ระดับของธาตุอาหารอาจเปลี่ยนไปที่ เป็นผลมาจากไม่ตั้งใจ โดยเฉพาะธาตุอาหารที่สำคัญรวมถึงระดับ สารพิษหรือสารต่อต้านโภชนาการที่มีอยู่ในธรรมชาติ เถ้า คาร์โบไฮเดรด เส้นใยหยาบ ไขมัน ความชื้น โปรตีน องค์ประกอบกรดอะมิโน องค์ประกอบกรดไขมัน

  41. พืชสารพิษ/สารต้านโภชนาการพืชสารพิษ/สารต้านโภชนาการ ข้าวโพด phytate มะเขือเทศ alpha-tomatine solanine chaconine etc. ถั่วเหลือง lectins isoflavones etc

  42. ข้อมูลทางด้านความเป็นพิษข้อมูลทางด้านความเป็นพิษ ระดับสารสารพิษในธรรมชาติ โปรตีนใหม่ๆ ไม่มีลักษณะเป็นสารพิษ แหล่งที่มา เปรียบเทียบลำดับกรดอะมิโนของโปรตีนใหม่กับที่รู้แล้วว่าเป็นพิษ ศึกษากับสัตว์ทดลอง

  43. ข้อมูลด้านสารภูมิแพ้ ระดับสารภูมิแพ้ในธรรมชาติ โปรตีนใหม่ๆ ไม่มีลักษณะเป็นสารภูมิแพ้ แหล่งที่มาของยีนใหม่ ความคล้ายคลึงกับสารภูมิแพ้ที่รู้ ลักษณะทางกายภาพ ศึกษาในห้องปฏิบัติการเพื่อดูความสามารถในการย่อยโปรตีนใหม่ ถ้าย่อยได้เร็ว ก็แสดงให้เห็นว่าไม่น่าจะมีผลทางลบ

  44. การจัดการความเสี่ยง การจัดการเพื่อลดการเกิดความต้านทานของแมลงศัตรูต่อบีที

  45. การจัดการเพื่อป้องกันการเกิด gene flow • การกำหนดระยะทาง • การกำหนดระยะเวลา • การใช้ยีนเฉพาะที่เรียกว่า terminator gene

  46. การจัดการวัชพืชมหัสจรรย์การจัดการวัชพืชมหัสจรรย์ • ใช้สารเคมีกำจัดวัชพืชชนิดอื่น • ใช้วิธีทางเขตกรรม

More Related