1 / 31

คำอธิบายรายวิชา

คำอธิบายรายวิชา. หลักการเพาะปลูกพืช ความสัมพันธ์ระหว่างพืชกับสภาพแวดล้อม การปฏิบัติรักษา การอนุรักษ์พืชและปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมที่เกี่ยวข้อง. Principle + Crop + Production. มีปัจจัยหลายอย่างมาเกี่ยวข้อง เศรษฐกิจ + สังคม ทั้งภายในและภายนอก

denim
Télécharger la présentation

คำอธิบายรายวิชา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. คำอธิบายรายวิชา หลักการเพาะปลูกพืช ความสัมพันธ์ระหว่างพืชกับสภาพแวดล้อม การปฏิบัติรักษา การอนุรักษ์พืชและปัจจัยทางเศรษฐกิจสังคมที่เกี่ยวข้อง Principle + Crop + Production มีปัจจัยหลายอย่างมาเกี่ยวข้อง เศรษฐกิจ + สังคม ทั้งภายในและภายนอก ประเทศเข้ามาเกี่ยวข้อง + ผลกระทบจากวิธีการผลิต “นักการผลิตต้องรู้รอบ ” บทนำวิชาหลักการกสิกรรม

  2. หลักการกสิกรรม(Principles of Crop Production) คืออะไร นายสุรยุทธ์ คือใคร จุลานนท์ • เกี่ยวข้องกับอะไรบ้าง • เกี่ยวข้องกับใครบ้าง • วิทยาการสาขาที่เกี่ยวข้อง • พัฒนาการ

  3. AGRICULTURAL DISCIPLINES AND RELATED SCIENCES สาขาวิชาด้านเกษตรศาสตร์และวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง

  4. -ประมง - ป่าไม้ มก. วิชาการด้านเกษตรศาสตร์ ของ คณะทรัพยากรธรรมชาติ + สาขาการจัดการศัตรูพืช + สาขาปฐพีศาสตร์ + สาขาพัฒนาการเกษตร + สาขาพืชศาสตร์ + สาขาสัตว์ศาสตร์ ต้องมีความรู้พื้นฐานทั่วไปด้านวิทยาศาสตร์สาขาต่างๆ

  5. DEFINITION OF AREAS OF AGRICULTURAL DISCIPLINES Agriculture - ('agri' L. = field, 'cultura' L.=cultivation) - the science and technology of growing and raisingplants and animals. Crop Production - Crop Husbandry- (husband-man)

  6. AREAS OF AGRICULTURE 1) Forestry 2) Agronomy 3) Horticulture

  7. AREAS OF AGRICULTURE 1) Forestry- วนศาสตร์ - ป่าไม้ - the science and technology of culturing, utilizing and improving forest trees and their products. - ex. pulp, resins, oils, etc.

  8. AREAS OF AGRICULTURE 2) Agronomy- พืชไร่ - the science and technology of culturing, utilizing and improving field crops. - grain, fiber and forage crops

  9. AREAS OF AGRICULTURE 3) Horticulture - พืชสวน ('hortus' L. = garden, 'cultura' L. = cultivation) - the science, technology and art of culturing, utilizing and improving fruit, vegetable, flowering and ornamental plants

  10. AREAS OF HORTICULTURE 1) Olericulture - vegetable culture and production 2) Pomology - fruit and nut culture and production 3) Ornamental Horticulture - plants grown for aesthetic uses, improvement of quality of life and our environment, and functional uses (ex: energy conservation). 4) Turf- grasses for lawns, landscapes, sport facilities and golf courses (in Agronomy in many Universities)

  11. AREAS OF ORNAMENTAL HORTICULTURE 1) Floriculture- flowering and foliage plant culture and production 2) Floristry- floral design and retail floristry operation 3) Nursery Production - tree, shrub and vine culture and production 4) Landscape Horticulture - exterior and interior design, construction and maintenance of landscapes

  12. พืชปลูก หลักการ การผลิต Principle + Crop + Production

  13. ทำไมต้องเรียนวิชานี้?ทำไมต้องเรียนวิชานี้? ความสำคัญและประโยชน์ 1. ความสำคัญด้านอาหารและเครื่องนุ่งห่ม 2. ความสำคัญด้านการเลี้ยงสัตว์ 3. ความสำคัญด้านเศรษฐกิจ 4. ความสำคัญทางด้านอุตสาหกรรม Principle + Crop + Production

  14. ความหมายของคำว่าพืชปลูกความหมายของคำว่าพืชปลูก พืชปลูก(Crop Plants) กาแฟ ขนมปัง • พืชปลูกมีอะไรบ้าง •  แหล่งผลิตพืชปลูก •  ระบบและวิธีการจำแนก

  15. CLASSICAL GUIDELINESFOR PLACEMENT OF A CROP INHORTICULTURE, AGRONOMY OR FORESTRY 1)Intensity of Production - example strawberries vs.cotton 2) Purpose Crop is Grown - example oak or pecan trees in forest vs. landscape 3) Tradition or Custom - example sweet vs. field corn, or tobacco

  16. พืชไร่กับพืชสวน(Field Crops VS Horticulture Crops)  วิธีปฏิบัติ : ความประณีต กับ ไม่ประณีต  ขนาดพื้นที่ : ขนาด เล็ก ใหญ่  จุดประสงค์ของการปลูก : หากปลูกเป็นอาหารหลักสำหรับสัตว์-มนุษย์ จัดว่าเป็นพืชไร่

  17. สภาวะการผลิตอาหารของโลกสภาวะการผลิตอาหารของโลก • ทฤษฏีอาหารของ Malthus (Multhusthian Theory) • การเพิ่มของอาหารมีลักษณะการเพิ่มแบบอนุกรมเลขคณิต(Arithmetic Progression) • การเพิ่มของประชากรมีลักษณะการเพิ่มแบบอนุกรมเรขาคณิต (Geometric Progression)

  18. อนุกรมเลขคณิต vs.อนุกรมเรขาคณิต อนุกรมเลขคณิต (arithmetic series) คือ ผลบวกของจำนวนในการก้าวหน้าเลขคณิต บทนำวิชาหลักการกสิกรรม

  19. ลักษณะของการ เติบโตของประชากร โลกในช่วง ห้าศตวรรษ

  20. แคลอรี Fa M Fa M Fr Fr Su ST ST Su Fruits,vegetables legumes and nuts C Cereal C สหรัฐ เมริกา ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น เปรู กัวนา อินเดีย Starch staples Meat,fish eggs and milk Fats and oils Sugars and sweets ลักษณะการปริโภคอาหารของประเทศต่างๆใน 6 ประเทศ อาหารแป้งอื่นๆ ประเทศเจริญ บริโภคเนื้อมากส่วน ประเทศยากจนบริโภค ธัญพืชมาก (สินค้าแปรรูป กับ ไม่แปรรูป ทำไม?

  21. คนเพิ่มอาหารต้องเพิ่ม-ทำอย่างไร?คนเพิ่มอาหารต้องเพิ่ม-ทำอย่างไร? 1. ต้องผลิตอาหารให้ได้มากขึ้นโดย • 1.1 เพิ่มพื้นที่การปลูก • 1.2 การเพิ่มจำนวนการปลูกพืชในพื้นที่เดียว(Multiple Cropping) - Sequential Cropping - Intercropping - Relay cropping - Ratoon Cropping • 1.3 ใช้เทคโนโลยีการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต

  22. 1.3 เทคโนโลยี่การผลิตพืช พันธุ์พืชใหม่ New Variety การเขตกรรม Cultural Practices การปลูกพืชหมุนเวียน Crop rotation การให้น้ำพร้อมปุ๋ย Fertigation ความหนาแน่นในการปลูก Plant density สารควบคุมการเจริญเติบโต Plant Growth Regulators สารกำจัดวัชพืช Plant Herbicides การควบคุมโรคและแมลง Pest and Disease Controls

  23. ความสำคัญของนักวิชาการด้านพืชศาสตร์ความสำคัญของนักวิชาการด้านพืชศาสตร์ • ปีพ.ศ. 2388 เกิดโรคที่เรียกว่า“โรคไหม้ก่อนเก็บเกี่ยว( Late blight)”ของมันฝรั่งในประเทศไอแลนด์ทำให้ประชากรประเทศนี้เกิดอดอยากล้มตายและย้ายถิ่นฐานนับล้านคน • สาเหตุเกิดจากPhytophthora infestans • โรคที่เกิดขึ้นกับข้าวสาลีและธัญญพืชอื่นๆมาตั้งแต่โบราณคือโรคราสนิม(Stem rust) • การค้นพบสารกำจัดวัชพืชต่างเช่น 2,4-D และสารกำจัดวัชพืชอื่นๆ • การค้นพบพันธุ์ข้าวข้าวโพดข้าวสาลีฝ้ายและอื่นๆในยุคต่างๆ

  24. 2.การหาแหล่งอาหารอื่นๆทดแทน2.การหาแหล่งอาหารอื่นๆทดแทน • พัฒนาจากส่วนเหลือใช้ของพืชปลูกมาปรับใช้ประโยชน์ เช่นขี้เลื่อยไม้ยาง ฟางข้าว กากทะลายปาล์ม ลำต้นหม่อน ใช้เพาะเห็ดเป็นต้น อาหารและยา -เช่นหัวบุก (คอนยัคขุ-ญี่ปุ่น) ใช้บริโภคเป็นอาหารมีเส้นใยอาหารสูงไม่มีไขมันแคลอรี่ต่ำ“สารกลูโคแมนแนน” ในหัวบุกสามารถดูดซับน้ำได้ดีพองตัวเป็นวุ้นได้ถึง 30-50 เท่าช่วยให้อุจจาระนิ่มถ่ายคล่อง • พัฒนาอาหารจากสาหร่ายหรือพืชชั้นต่ำอื่นเช่นยีสต์ หรือการทำฟาร์มในทะเล - สาหร่าย สไปรูลิน่า

  25. Sun การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศน์ Light energy Respiration Photo synthesis ผู้ผลิต สัตว์กินพืช สัตว์กินสัตว์ 1 สัตว์กินสัตว์2 Secondary Carnivorous Herbivorous Carnivorous Producer ห่วงโซ่อาหาร(Food Chain) แร่ธาตุอาหาร จุลินทรีย์ มนุษย์ สิ่งมีชีวิตต้องกินอาหารเพื่ออยู่ Heat Energy การ กสิกรรม กับ ระบบนิเวศน์ จุลินทรีย์ แร่ธาตุในดิน

  26. 2 1 กิน เปลี่ยนแปลง ถ่าย เคลื่อนย้าย ตัวอย่างบ้าน(นิเวศน์)ของกวางในภาพ

  27. ระบบนิเวศน์ • นิเวศวิทยา(Ecology) • Oikos = บ้านหรือที่อยู่อาศัยOlogy = การศึกษา • หมายถึงการศึกษาถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม • ระบบนิเวศ(Ecosystem) • หมายถึงระบบที่มีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตด้วยกันและระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งที่ไม่มีชีวิตในแหล่งที่อยู่ซึ่งทำให้เกิดการโยกย้ายถ่ายเทสสารและพลังงานเป็นวัฎจักรหรือเขียนได้ว่า • ระบบนิเวศ= กลุ่มสิ่งมีชีวิต + แหล่งที่อยู่

  28. ความหมายของคำบางคำ เกษตรศาสตร์(Agricultural Science) เกษตรกรรม (Agriculture) กสิกรรม(Crop Husbandry) วิชาพืชไร่(Agronomy) วิชาพืชสวน(Horticulture) พืชกสิกรรม(Crop plants) พืชไร่(Field Crops) พืชสวน(Horticulture Crops) อ่าน: นคร ณ ลำปาง.2527. หลักการผลิตพืช. ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

  29. เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับพืชกลุ่มต่างๆคือพืชสวนพืชไร่ป่าไม้เราเรียนศึกษาเพราะมีความสำคัญต่อปัจจัยสี่เป็นงานที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจสังคมอุตสาหกรรมความเป็นอยู่(ระบบนิเวศน์)ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมความรู้ทางพืชศาสตร์ช่วยให้มนุษย์สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆทำให้โลกมีความมั่นคงทางด้านอาหารยารักษาโรคพลังงานตลอดทั้งความเป็นอยู่ด้านต่างๆทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น(เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับพืชกลุ่มต่างๆคือพืชสวนพืชไร่ป่าไม้เราเรียนศึกษาเพราะมีความสำคัญต่อปัจจัยสี่เป็นงานที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจสังคมอุตสาหกรรมความเป็นอยู่(ระบบนิเวศน์)ของมนุษย์และสิ่งแวดล้อมความรู้ทางพืชศาสตร์ช่วยให้มนุษย์สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆทำให้โลกมีความมั่นคงทางด้านอาหารยารักษาโรคพลังงานตลอดทั้งความเป็นอยู่ด้านต่างๆทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น( สรุป การกสิกรรม

  30. ในคณิตศาสตร์การก้าวหน้าเลขคณิต (arithmetic progression) คือ ลำดับของจำนวนซึ่งมีผลต่างของสมาชิกสองตัวที่อยู่ติดกันในลำดับเป็นค่าคงที่ ตัวอย่างเช่น ลำดับ 3, 5, 7, 9, 11, ... เป็น การก้าวหน้าเลขคณิต ที่มีผลต่างร่วมเท่ากับ 2 • an = a1 + (n - 1)d ผลบวกของจำนวนใน (ในส่วนเริ่มต้นของ) การก้าวหน้าเลขคณิต เรียกว่า อนุกรมเลขคณิต

  31. อนุกรมเรขาคณิต (geometrical series) คือ อนุกรมที่ได้จากการบวกลำดับเรขาคณิตเข้าด้วยกัน สมการของอนุกรมเรขาคณิต พจน์แรก คือ = เมื่อ คือ พจน์แรกของอนุกรม และ คือ อัตราส่วนร่วมของอนุกรม

More Related