1 / 40

Employee’s Choice กับสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

Employee’s Choice กับสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ. โดย คุณดวงมน ธีระวิคาวี ผู้อำนวยการฝ่าย ฝ่ายกำกับธุรกิจจัดการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. วันที่ 25 เมษายน 2546. หัวข้อการบรรยาย. แนวคิดของการมี Employee ’ s choice หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับ Employee ’ choice

Télécharger la présentation

Employee’s Choice กับสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Employee’s Choice กับสมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ โดย คุณดวงมน ธีระวิคาวี ผู้อำนวยการฝ่าย ฝ่ายกำกับธุรกิจจัดการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต.วันที่ 25 เมษายน 2546

  2. หัวข้อการบรรยาย แนวคิดของการมี Employee’s choice หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับ Employee’choice ปัญหาและอุปสรรคในปัจจุบัน แนวทางดำเนินการของสำนักงาน

  3. I. แนวคิดของการมีEmployee’s choice 3

  4. Employee’s Choice คือ การเปิดโอกาสให้สมาชิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเลือกนโยบายการลงทุนได้ตามความเหมาะสมของตนเอง

  5. นโยบาย 60 : 40 ทรัพย์สินที่มีความมั่นคงสูง 60 % 40 % ทรัพย์สินที่มีความมั่นคงน้อยกว่า ..ที่ผ่านมา.. พฤติกรรมการลงทุนเพียงแบบเดียว

  6. ความหลากหลายของโครงสร้างกองทุนความหลากหลายของโครงสร้างกองทุน โครงสร้างของสมาชิกสัดส่วน => ชาย : หญิง สัดส่วน => วัยหนุ่มสาว : วัยกลางคน :วัยใกล้เกษียณอัตราการเข้า-ออกของสมาชิก(turnover rate)

  7. ความหลากหลายของสมาชิกความหลากหลายของสมาชิก สมาชิกแต่ละรายมีความแตกต่างกัน เช่นอายุความเสี่ยงที่ยอมรับได้ผลตอบแทนที่ต้องการ แต่คณะกรรมการกองทุนเลือกนโยบายการลงทุนแทนสมาชิกทุกคน

  8. วัยหนุ่มสาว วัยกลางคน วัยใกล้เกษียณ คำตอบ : ขึ้นอยู่กับสมาชิกแต่ละคน ไม่ใช่คณะกรรมการกองทุน ความเสี่ยงปานกลาง Balanced ความเสี่ยงต่ำ Conservative ความเสี่ยงสูง Aggressive 8

  9. สำนักงานเปิดโอกาสให้สมาชิก เลือกนโยบายการลงทุนเองตั้งแต่วันที่ 30 มีนาคม 2544 เป็นต้นไป เป็นสิทธิไม่ได้บังคับ 9

  10. II. หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับ Employee’s choice 10

  11. รูปแบบของนโยบายการลงทุน กองทุนความเสี่ยงต่ำ (conservative fund)ลงทุนได้เฉพาะทรัพย์สินที่มีความเสี่ยงต่ำตามที่สำนักงานกำหนด เช่น กระทรวงการคลังค้ำประกัน หรือได้ rating 4 อันดับแรก เป็นต้นกองทุนมาตรฐานกองทุนที่มีชื่อเรียกตามนโยบายการลงทุนและกระจายความเสี่ยง ตามมาตรฐานเดียวกับกองทุนรวมกองทุนลักษณะพิเศษ (specific fund)กองทุนที่มีการกระจายความเสี่ยงน้อยกว่ากองทุนมาตรฐาน จึงอาจมีความเสี่ยงสูงกว่าหรือต่ำกว่า

  12. กองทุนหุ้น กองทุนผสม กองทุนตราสารหนี้ ตราสารทุน ตราสารหนี้ เงินฝากและตั๋วเงิน Conservative fund ตัวอย่างนโยบายการลงทุน ความเสี่ยง วัยกลางคนBalanced วัยใกล้เกษียณConservative วัยหนุ่มสาวAggressive 100% 20% 30% 50% 50% 50% 100% ผลตอบแทน หมายเหตุ : สัดส่วนการลงทุนเป็นสัดส่วนโดยประมาณ และอาจเปลี่ยนแปลงหากสถานการณ์การลงทุนเปลี่ยนแปลงไป 12

  13. นโยบายการลงทุนใดที่เหมาะสมนโยบายการลงทุนใดที่เหมาะสม สมาชิกทำความเข้าใจตนเอง- อายุ - ความเสี่ยงที่ยอมรับได้ - ผลตอบแทนที่ต้องการสมาชิกทำความเข้าใจนโยบาย การลงทุน - ความเสี่ยง / ผลตอบแทน เครื่องมือช่วย => ทำแบบสอบถาม

  14. รูปแบบของกองทุนควรเป็นอย่างไรรูปแบบของกองทุนควรเป็นอย่างไร Single Fund Pooled Fund นายจ้าง A นายจ้าง B นายจ้าง C นายจ้าง D 14

  15. ข้อดี-ข้อเสียของ Single fund ข้อดี :- คณะกรรมการกองทุนมีอำนาจการตัดสินใจอย่างเป็นอิสระ ในเรื่องการแก้ไขนโยบาย การลงทุน หรือข้อบังคับกองทุน เป็นต้น ข้อเสีย :- กองทุนต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการ ดำเนินงานทั้งหมด

  16. ข้อดี-ข้อเสียของ Pooled fund ข้อดี :- กองทุนสามารถเฉลี่ยค่าใช้จ่ายในการ ดำเนินงานกับนายจ้างรายอื่นที่อยู่ในกองทุน ข้อเสีย :- อำนาจการตัดสินใจของคณะกรรมการ กองทุนขาดความเป็นอิสระ เพราะต้อง ขึ้นอยู่กับนายจ้างรายอื่น ในกองทุนด้วย

  17. รูปแบบของกองทุน (ต่อ) 1 กองทุน => 1 นโยบาย หรือ 1 กองทุน => หลายนโยบาย

  18. Single Fund1 กองทุน => 1 นโยบาย นายจ้าง ตั้งใหม่ 3 กอง กองเดิม กองA กองB กองC รวมเป็น 4 กองทุน 18

  19. ข้อดี – ข้อเสีย ข้อดี :- ไม่มีปัญหาการเรียกร้องสิทธิระหว่างนโยบาย การลงทุนที่มีผลตอบแทนต่างกัน เนื่องจาก เป็นคนละนิติบุคคลกัน ข้อเสีย:- เพิ่มภาระแก่กองทุน ทั้งในส่วนของค่าใช้จ่ายและ อัตรากำลังคนที่ใช้เช่น ถ้ามี 4 นโยบายการลงทุน => 4กองทุน / 4คณะกรรมการกองทุน => 4ข้อบังคับกองทุน => 4ทะเบียนสมาชิก

  20. 1 กองทุน => หลายนโยบาย นายจ้าง กองทุน แบ่งเป็น sub-fund นโยบายเดิม นโยบายA นโยบายB นโยบายC กองทุนเดียวมีหลายนโยบายการลงทุน 20

  21. ข้อดี 1 กองทุน => หลายนโยบาย - ลดภาระแก่กองทุน ทั้งในส่วนของค่าใช้จ่าย และอัตรากำลังคนเช่นถ้ามี 4 นโยบายการลงทุน => 1 กองทุน=> 1 คณะกรรมการกองทุน=> 1 ทะเบียนสมาชิก => 1 ข้อบังคับกองทุน

  22. ข้อเสีย 1 กองทุน => หลายนโยบาย - แม้ว่าสมาชิกจะแสดงความจำนงเป็น ลายลักษณ์อักษรว่าจะไม่เรียกร้องสิทธิ ใด ๆ ที่เกิดจากผลตอบแทนที่ไม่เท่ากัน กับนโยบายการลงทุนอื่น ๆ แต่อาจมีปัญหาในทางปฏิบัติเกิดขึ้น

  23. ปัญหาในทางปฏิบัติ หากสมาชิกต้องการโอนย้ายกองทุนหรือมีสมาชิกสิ้นสมาชิกภาพจำนวนมาก=> สภาพคล่องของกองทุนไม่เพียงพอ=> ไม่สามารถขายทรัพย์สินได้ทัน บริษัทจะบริหาร สภาพคล่องอย่างไร ?

  24. ปัญหาในทางปฏิบัติ (ต่อ) กองทุนย่อยมีภาระค่าใช้จ่าย ต่อบุคคลภายนอก เช่น ค่าสอบบัญชี แต่ไม่มีเงินเพียงพอ จะทำอย่างไรไม่ให้ กองทุนย่อยอื่นต้องร่วม รับภาระด้วย ?

  25. ทางออก คณะกรรมการกองทุนจึงควรถามบริษัทจัดการในการแก้ไขหรือป้องกันปัญหาทางปฏิบัติเหล่านี้ เพื่อให้สมาชิกกองทุนมั่นใจได้ว่า ทุกปัญหาได้รับการแก้ไขแล้ว

  26. Pooled Fund1 กองทุน => 1 นโยบาย กองทุนร่วมทุน A กองทุนร่วมทุน C กองทุนร่วมทุน B กองทุนเดิมของนายจ้าง ร่วมในกองทุนร่วมทุน A B C นายจ้าง 26

  27. Pooled Fund1 กองทุน => หลายนโยบาย นโยบายA นโยบายB นโยบายC แบ่งเป็น sub-fund กองทุนเดิม กองทุนร่วมทุน เข้าร่วมในกองทุนร่วมทุนเป็นsub-fund นายจ้าง 27

  28. การเลือกนโยบายการลงทุนการเลือกนโยบายการลงทุน C A B กองทุน ความเสี่ยงต่ำ กองทุนหุ้น กองทุน ตราสารหนี้ นาย ก 0%100% 0% นาย ข 0%40%60% นาย ค 20%30%50% 28

  29. การเลือกนโยบายการลงทุน (ต่อ) นายจ้างต้องใส่เงินตามที่ลูกจ้างเลือก  อัตราเงินสะสม/เงินสมทบขั้นต่ำ ดูจากอัตรารวมทุกกองทุนที่ลูกจ้างเลือก  29

  30. การเปลี่ยนกองทุน สมาชิกสามารถเปลี่ยนกองทุนได้ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้งการเปลี่ยนกองทุนได้บ่อยข้อดี : เพิ่มความยืดหยุ่นให้สมาชิกข้อเสีย :Operation cost ของระบบ ที่ต้องรองรับในส่วน - นายจ้าง - บริษัทจัดการ

  31. III. ปัญหาและอุปสรรค 31

  32. Employee’s choice น้อย สาเหตุ :เป็นเรื่องใหม่ ต้นทุนในการดำเนินการ สูงขึ้น  

  33. เป็นเรื่องใหม่ ลูกจ้าง1. ศึกษาข้อมูลและทำความเข้าใจเกี่ยวกับ การลงทุนมากขึ้น 2. ต้องตัดสินใจเลือกนโยบายการลงทุนเอง 3. ต้องติดตามดูแลสิทธิประโยชน์ที่จะได้รับ มากขึ้น เช่น- ตรวจสอบการนำส่งเงินสะสม /เงินสมทบ ที่นำเข้าในแต่ละนโยบายที่เลือก - ติดตามผลการดำเนินงานของแต่ละนโยบาย

  34. เป็นเรื่องใหม่ (ต่อ) นายจ้าง * ต้องพัฒนาระบบการบันทึกข้อมูลการนำส่ง เงินสะสม / เงินสมทบเข้าแต่ละกองทุน บริษัทจัดการ* ต้องพัฒนาระบบให้สามารถตอบสนอง ความต้องการของสมาชิก เช่นกรณีที่สมาชิกต้องการตั้ง 1 กองทุน => หลายนโยบาย ต้องมีระบบ ในการรวมยอดเงินของสมาชิกที่อยู่ใน ทุกนโยบายเป็นต้น

  35. เป็นเรื่องใหม่ (ต่อ) คณะกรรมการกองทุน * ศึกษาข้อมูลและทำความเข้าใจ เพื่อถ่ายทอดให้สมาชิก โดยจัดเอง หรือขอให้บริษัทจัดการดำเนินการให้

  36. IV. แนวทางดำเนินการ ของสำนักงาน 36

  37. การแก้กฎหมายให้ชัดเจนการแก้กฎหมายให้ชัดเจน แก้ไข พ.ร.บ.กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 1.การจัดตั้งกองทุนที่มีกองทุนย่อยแยกตาม นโยบายการลงทุน (master fund)2.กำหนดให้มีตัวแทนขายมาให้คำแนะนำ แก่สมาชิกในการเลือกนโยบายการลงทุน

  38. ให้ความรู้อย่างต่อเนื่องให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง ให้ความรู้เกี่ยวกับ - การจัดตั้ง Employee’s choice - บทบาทหน้าที่ของสมาชิก

  39. บทส่งท้าย employee’s choice ได้เปิดโอกาสให้สมาชิกสามารถเลือกนโยบายการลงทุนที่เหมาะสมกับตนเองได้และเมื่อเลือกแล้วสมาชิกควรติดตามผลการดำเนินงานของกองทุนที่เลือกด้วยเพื่อประโยชน์สูงสุดตามความมุ่งหวังของสมาชิก

  40. สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่...สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่... ฝ่ายกำกับธุรกิจจัดการลงทุน สำนักงานคณะกรรมการ ก.ล.ต. โทร. 0-2252-3223 ต่อ 2758,2759 โทรสาร. 0-2256-7702 Contact us : www.assetmgt@sec.or.th

More Related