1 / 30

การเพิ่มศักยภาพในการดูแลตนเอง

การเพิ่มศักยภาพในการดูแลตนเอง. สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ได้รับผลกระทบ ในภาคเหนือตอนบน ประเทศไทย. นำเสนอ โดย รองศาสตราจารย์วิลาวัณย์ เสนารัตน์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ในการประชุม “ล้านนา . . . เสวนาเอดส์ 2545”. 29 สิงหาคม 2545

dolph
Télécharger la présentation

การเพิ่มศักยภาพในการดูแลตนเอง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเพิ่มศักยภาพในการดูแลตนเองการเพิ่มศักยภาพในการดูแลตนเอง สำหรับผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ได้รับผลกระทบในภาคเหนือตอนบน ประเทศไทย นำเสนอ โดย รองศาสตราจารย์วิลาวัณย์ เสนารัตน์คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการประชุม “ล้านนา . . . เสวนาเอดส์ 2545” 29 สิงหาคม 2545 ห้องสันพระเนตร โรงแรมปางสวนแก้ว จังหวัดเชียงใหม่

  2. ภาคี อีซีไอ ไทย ความร่วมมือจาก 6 ภาคี : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สำนักควบคุมโรคติดต่อเขต 10 มูลนิธิพัฒนาเครือข่ายเอดส์ (เอดส์เนท) สาธารณสุข จังหวัดเชียงใหม่ พันธกิจเอดส์ สภาคริสตจักรในประเทศไทย เครือข่ายผู้ติดเชื้อภาคเหนือตอนบน

  3. วัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงคุณภาพชีวิตของผู้ติดเชื้อและผู้ได้รับผลกระทบจากการติดเชื้อ HIV/AIDS ภาคเหนือตอนบน โดยการดูแลแบบผสมผสานและเป็นองค์รวม

  4. พื้นที่เป้าหมาย 6 ตำบล ตำบล ตำบล ตำบล ECI Team ตำบล ตำบล ตำบล รวม = 68 หมู่บ้าน 13-15 หมู่บ้าน / ตำบล

  5. Enhancing Care Initiative ECI Thai Team การเพิ่มศักยภาพ การปรับปรุงการดูแลสุขภาพในสถานบริการสุขภาพ การดูแลระยะสุดท้าย การดูแลที่บ้าน การเสริมพลังอำนาจของกลุ่มผู้ติดเชื้อ การเสริมพลังอำนาจของชุมชน อาศัยหลักสิทธิมนุษยชน

  6. การปรับปรุงการดูแลสุขภาพในสถานบริการสุขภาพการปรับปรุงการดูแลสุขภาพในสถานบริการสุขภาพ 1. การพัฒนาหลักการ ‘การดูแลและรักษาการติดเชื้อฉวยโอกาส’ 2. การพัฒนาแนวทางการใช้หลัก UP เพื่อการฝึกอบรมและประเมินผล 3. การพัฒนาคุณภาพในการดูแลของบุคลากรสุขภาพ 4. การ ปรับปรุงการปฏิบัติงานโดยใช้หลักสิทธิผู้ป่วย 5. การจัดตั้ง ‘คณะกรรมการสุขภาพชุมชน’ ประกอบด้วย บุคลากรสุขภาพ ผู้ติดเชื้อ ผู้นำชุมชน และอาสาสมัครชุมชน

  7. การดูแลระยะสุดท้าย 1. การจัดเวทีการเรียนรู้ ‘การเตรียมชีวิตในบั้นปลาย’ และ ‘การดูแลระยะสุดท้าย’ 2. โครงการฝึกอบรมการให้คำปรึกษา สำหรับผู้ป่วยระยะสุดท้าย 3. การพัฒนาแนวปฏิบัติสำหรับการดูแลในระยะสุดท้าย 4. การทดลองใช้แนวปฏิบัติ โดยผู้ติดเชื้อและผู้ดูแล 5. การตีพิมพ์เผยแพร่แนวปฏิบัติ 6. การนำเสนอและผลักดันแนวปฏิบัติที่ พัฒนาขึ้นไปสู่แผนระดับชาติ การดูแล ผู้ป่วยเอดส์ (2545-2550)

  8. การปรับปรุงการดูแลที่บ้านการปรับปรุงการดูแลที่บ้าน 1. การสังเคราะห์องค์ความรู้และบทเรียน 2. การฝึกอบรมอาสาสมัครในการดูแลที่บ้าน 3. การเยี่ยมบ้านสำหรับผู้ป่วย (ไม่เพียงผู้ป่วยเอดส์) 4. การเยี่ยมบ้านสำหรับผู้ที่ได้รับยา ARV ครั้งแรก 5. การจัดตั้งรูปแบบการดูแลที่บ้านโดยทีมที่ ผสมผสานทั้งอาสาสมัคร บุคลากรสุขภาพ และกลุ่มผู้ติดเชื้อ

  9. การเสริมพลังอำนาจของกลุ่มผู้ติดเชื้อการเสริมพลังอำนาจของกลุ่มผู้ติดเชื้อ 1. การฝึกอบรมเกี่ยวกับ การรักษาและดูแลการติดเชื้อฉวยโอกาส 2. การฝึกอบรมเกี่ยวกับ ARV 3. การฝึกอบรมในการดูแลที่บ้านและการให้คำปรึกษา 4. การจัดเวทีเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน 5. การมีส่วนร่วมในการให้คำปรึกษา และการดูแลสำหรับผู้ติดเชื้อและ ผู้ป่วยเอดส์ในคลินิกของ สถานบริการสุขภาพ

  10. การเสริมพลังอำนาจชุมชนการเสริมพลังอำนาจชุมชน ประชาพิจัย 1. การหา ผู้ประสานงานประจำชุมชน โดยเลือกหมู่บ้านละ 3-5 คน (โดยประชาชนในหมู่บ้าน) Process of PR&D 2. การฝึกอบรม ผู้ประสานงานประจำชุมชน 3. การรวบรวมข้อมูลชุมชน (ประวัติ ภูมิปัญญา แหล่งประโยชน์) 4. การเรียนรู้ประสบการณ์และการปฏิบัติที่ได้ผลจากชุมชนอื่น 5. การวิเคราะห์ศักยภาพชุมชนและระบุทางเลือก 6. การพัฒนาแผนงานหลักในแต่ละตำบล 7. การนำแผนงานไปใช้

  11. กระบวนการเรียนรู้และการปฏิบัติของชุมชนกระบวนการเรียนรู้และการปฏิบัติของชุมชน

  12. วัตถุประสงค์ การผลิต ปุ๋ยชีวภาพ การเกษตรชีวภาพ อาหารที่ปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย รวมทั้งลดค่าใช้จ่ายของชุมชน

  13. กลับสู่ธรรมชาติ โครงการปุ๋ยชีวภาพ • วิถีชีวิตที่เรียบง่าย • การใช้สมุนไพรแทน สารเคมี อาหารที่ดี & สิ่งแวดล้อมเพื่อทุกคน

  14. ประชาชนมากกว่า 50 หมู่บ้านใน 6 ตำบลได้จัดทำ “โครงการปุ๋ยชีวภาพ” โดยการสนับสนุนจากทีม ECI จากบทเรียนของ“โครงการปุ๋ยชีวภาพ” ได้ถูกขยายผลไปยังหมู่บ้านและตำบลอื่นและเป็นที่ยอมรับขององค์การบริหารส่วนตำบล ผู้นำชุมชน 13 คนที่ได้รับการอบรมจากโครงการ ECI ได้กลายเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญในท้องถิ่น ผู้นำชุมชนที่ผ่านการอบรมได้รับเชิญร่วมแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ผ่านทางรายการวิทยุทุกเดือน และยังได้เข้าร่วมในงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ด้านการสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนตำบล ได้มีการกำหนดให้พื้นที่ในตำบลให้เป็นพื้นที่การเกษตรที่ปลอดสารเคมี ภายในปี พ.ศ. 2548

  15. การดูแลสุขภาพชุมชน การนวดแผนไทย การใช้ยาสมุนไพร อาสาสมัครสุขภาพชุมชน

  16. การจัดโปรแกรมกระบวนการเรียนรู้ 11 วัน ตามความต้องการของชุมชน โดย ECI สนับสนุนด้านวิทยากร ส่วนผู้เข้าอบรมรับผิดชอบค่าอาหารและค่าเดินทางเอง การอบรมการนวดแผนไทยให้สตรี 21 คนใน 3 ตำบล และนำทักษะนี้ไปใช้กับสมาชิกในครอบครัวและเพื่อนบ้าน ในจำนวนนี้ 8 คนได้กลายเป็นผู้ฝึกและกลายการอบรมไปสู่ชุมชนอื่นด้วย การจัดเวทีการเรียนรู้เกี่ยวกับสมุนไพร อาหารสุขภาพ และการดูแลผู้ป่วยใน 6 ตำบล กระบวนการประชาวพิจัยได้นำใช้และสาระในการดูแลสุขภาพและการเจ็บป่วย รวมทั้งการติดเชื้อเอชไอวีและเอดส์

  17. สิทธิต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดีสิทธิต่อสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี สิทธิทางการพัฒนาของมนุษย์ สิทธิแห่งศักดิ์ศรีและไม่มีการแบ่งแยก สิทธิในการมีชีวิตที่มีสุขภาพและความเป็นอยู่ที่เพียงพอของบุคคลและครอบครัว ในด้านอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย การดูแลรักษา และสวัสดิการทางสังคม การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน โดย ECI

  18. Enhancing Care Initiative ECI Thai Team ผลสรุปบทเรียนจาก ผู้มีส่วนร่วมในโครงการ ECI 28-29 มิถุนายน 2545

  19. องค์ประกอบพื้นฐานในการดูแลสุขภาพชุมชนที่เกิดจากการเรียนรู้ของผู้เข้ามีส่วนร่วมในโครงการของ ECI รัฐบาล สถานบริการ การดูแลแบบดั้งเดิม ชุมชน การทำงาน & สิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ อาหารสุขภาพ

  20. Enhancing Care Initiative ECI Thai Team บทบาทของECI Thai Team ผู้อำนวย ความสะดวก การจัดเวทีชุมชน กระตุ้นกระบวนการคิด & การเรียนรู้ ผู้เชี่ยวชาญ & ผู้ฝึก ผู้สนับสนุน สนับสนุนด้านการเงินในระยะแรก ผู้เรียนรู้ วิธีการทำงานกับชุมชน วิธีกระตุ้นกระบวนการเรียนรู้ วิธีการเปลี่ยนแปลงแนวคิด พัฒนาการทำงานเป็นทีมและการร่วมมือ

  21. สรุปผลการวิจัย ก่อนเริ่มโครงการ ECI กิจกรรมบริการสุขภาพขึ้นอยู่กับทุนสนับสนุนตามปัญหาสุขภาพ เอดส์เป็นความรับผิดชอบของผู้ติดเชื้อและครอบครัว ขาดอิสระภาพทางความคิด การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ไม่ใช่ปัญหาของชุมชน ขาดงานที่สร้างสรรค์ กิจกรรมการให้บริการแยกเป็นส่วนๆ โครงการเอดส์มักเน้นถึงการสนับสนุนจากแหล่งทุนภายนอก ยาต้านไวรัสมีไม่เพียงพอสำหรับผู้ติดเชื้อทุกคนในพื้นที่เป้าหมาย

  22. สรุปผลการวิจัย ภายหลังโครงการ ECI ได้รับกระบวนการเรียนรู้ ริเริ่มวิธีการใหม่ในการคิดและการทำร่วมกัน มีความยืดหยุ่น ความมั่นใจ และความสุขในการทำงานมากขึ้น มีส่วนร่วมของกลุ่มผู้ติดเชื้อในการเสริมศักยภาพ มีการดูแลสุขภาพในชุมชนและสถานบริการ ขยายการอบรมและการให้คำปรึกษาในระยะสุดท้ายในพื้นที่อื่น เช่น จังหวัดแม่ฮ่องสอน

  23. สรุปผลการวิจัย ภายหลังโครงการ ECI ได้วิธีการที่จะต่อสู้ปัญหาทางสุขภาพและวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจของชุมชน ให้ความเคารพในสิทธิมนุษยชน รวมทั้งมีการปกป้องสิทธิ การนำแนวคิดระบบเศรษฐกิจใหม่ (เศรษฐกิจพอเพียง) มาใช้ มีความภูมิใจที่ได้ทำงานในโครงการ ECI การติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์เป็นความรับผิดชอบของทุกคนในสังคม

  24. สรุปผลการวิจัย ภายหลังโครงการ ECI มียาต้านไวรัสสำหรับผู้ติดเชื้อในพื้นที่เป้าหมาย มีการถ่ายทอดประสบการณ์และบทเรียนที่ได้แก่ผู้เข้าอบรมจำนวน 83 คน จาก 13 ประเทศ กลุ่มผู้สนใจ 6 คนจากประเทศอินโดนีเซียขอมาอบรมเพื่อเรียนรู้โครงการ ECI ชุมชนใน 6 ตำบลเป้าหมายได้กลายเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้

  25. ระบบการดูแลสุขภาพ ผลจากโครงการECI การให้คำปรึกษากับการเตรียมชีวิตในระยะสุดท้าย บุคลากรสุขภาพได้รับการฝึกอบรม การดูแลผู้ป่วยในระยะสุดท้าย การปรับปรุงคุณภาพในการดูแล Nursing Care OI ARV Human rights UP

  26. ผลจากการพัฒนาชุมชน ผลจากโครงการ ECI ทีมดูแลสุขภาพในชุมชน อาหารเพื่อสุขภาพ, สิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพ, การทำงานเพื่อสุขภาพ, พืชสมุนไพร และการดูแลแบบดั้งเดิม โรงงานปุ๋ยชีวภาพและอาหารสัตว์ โดยการสนับสนุนจากรัฐบาลผ่านองค์การบริหารส่วนตำบล จัดตั้งโรงสีในหมู่บ้าน กลุ่มนวดแผนไทย ผู้นำชุมชน - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์

  27. ผลจากโครงการ ECI เครือข่ายการดูแลพื้นฐานในชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบล(อบต.)) บุคลากรสุขภาพ กลุ่มผู้ติดเชื้อ ผู้นำชุมชน หมอพื้นบ้าน เครือข่ายเกษตรธรรมชาติ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ทีม ECI

  28. ข้อจำกัด 1. ความก้าวหน้าของโครงการในระยะเริ่มต้นค่อนข้างช้ามาก เนื่องจากต้องปรับวิธีคิดใหม่ และปรับเปลี่ยนกรอบแนวคิดและกลวิธี 2. การวิจัยเชิงบูรณาการระหว่างองค์กรหลายภาคีต้องอาศัยความพยายามและความเข้าใจในการประสานงาน 3. ภาระของสมาชิกทีมวิจัย เนื่องจากมีงานประจำที่ต้องรับผิดชอบมาก

  29. แผนงานในอนาคต 1. จัดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์และบทเรียนในระดับประเทศ 2. สรุปผลของโครงการและบทเรียนต่อผู้บริหาร/ผู้กำหนดนโยบาย 3. ขยายรูปแบบโครงการ ECI ไปยังจังหวัดอื่นหรือประเทศอื่น 4. นำเสนอแหล่งทุนเพื่อจัดตั้งศูนย์การฝึกอบรมเกี่ยวกับการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ และสุขภาพชุมชน 5. จัดตั้งมูลนิธิสุขภาพชุมชน

  30. Enhancing Care Initiative ECI Thai Team สวัสดี

More Related