1 / 39

สรุปผล การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวง รอบที่ 1 ปีงบประมาณ 2556

สรุปผล การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวง รอบที่ 1 ปีงบประมาณ 2556 คณะที่ 1. จังหวัดตราด. 1.1 กลุ่มเด็กและสตรี 14 ตัวชี้วัด

eben
Télécharger la présentation

สรุปผล การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวง รอบที่ 1 ปีงบประมาณ 2556

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สรุปผล การตรวจราชการและนิเทศงาน กรณีปกติ ระดับกระทรวง รอบที่ 1ปีงบประมาณ 2556 คณะที่ 1 จังหวัดตราด

  2. 1.1 กลุ่มเด็กและสตรี 14 ตัวชี้วัด 1.2 กลุ่มเด็กปฐมวัย 7 ตัวชี้วัด 1.3 กลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน 5 ตัวชี้วัด 1.4 กลุ่มวัยทำงาน 9 ตัวชี้วัด 1.5 กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ 4 ตัวชี้วัด 1.6 สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการทำงานด้านสุขภาพ 5 ตัวชี้วัด 1.7 ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)1 ตัวชี้วัด 1.8 กลุ่มการป้องกันและควบคุมโรค 2 ตัวชี้วัด รวม 45 ตัวชี้วัด ประเด็นหลักที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันควบคุมโรค และลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ

  3. รายชื่อผู้นิเทศ นางสาวรัตนา เพชรพรรณ ประธาน กรมอนามัย ทพ.ดำรง ธำรงเลาหะพันธุ์ เลขาฯ กรมอนามัย นางสุภาพร พุทธรัตน์ ผู้ช่วยเลขาฯ กรมควบคุมโรค นางมาลี เกิดพันธ์ กรมควบคุมโรค นางสาวอุไรวรรณ ถาดทองกรมควบคุมโรค นพ.มานัส โพธาภรณ์กรมการแพทย์ นางภัทรา ถิรลาภ กรมสุขภาพจิต นพ.บุรินทร์ สุรอรุณสัมฤทธิ์ กรมสุขภาพจิต น.ส.ณธิป วิมุตติโกศล อย. นายเพียรพันธุ์ พิระภิญโญ อย. นางนิภา ทิพย์พิลาสบส.

  4. 1.1 กลุ่มเด็กและสตรี สภาพการณ์ - จังหวัดตราดมีการขับเคลื่อนการส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กโดยใช้โครงการสายใยรักแห่งครอบครัวเป็นกรอบในการขับเคลื่อนการดำเนินงาน มี รพ.สายใยรักระดับทอง 6 แห่ง ซึ่ง รพ.เกาะช้างอยู่ระหว่างการรอประเมิน - ในกรอบการขับเคลื่อนจังหวัดในการแก้ไขปัญหา : มีการวิเคราะห์ และกำหนดปัญหาร่วมกันในกลุ่มแม่และเด็กโดยทีม สสจ. และ CUP เพื่อให้การดำเนินงานเป็นทิศทางเดียวกัน ปัญหาที่สำคัญของจังหวัด คือ Pre-eciampsia/ตั้งครรภ์วัยรุ่น/BA/LBW/PPH - มี MCH Board ระดับจังหวัด เป็น Key function ในการขับเคลื่อนงานแม่และเด็ก ให้เกิดประสิทธิภาพ และราบรื่นในการดำเนินงาน : พัฒนาระบบบริการ ระบบการส่งต่อ การเชื่อมโยงระหว่างหน่วยบริการ การพัฒนามาตรฐาน การพัฒนาวิชาการฯลฯ

  5. เด็ก 0 – 2 ปี • ดำเนินการเป็นไปตามมาตรฐาน/แนวทางโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว • ดำเนินการตำบลนมแม่ • พัฒนาการเด็ก : มีการวางระบบคัดกรองพัฒนาการเด็กโดยใช้แบบประเมินอนามัย 55 วางระบบการส่งต่อและแก้ไขเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า และมีการพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการในการคัดกรองพัฒนาการเด็กโดยใช้แบบประเมินอนามัย 55 TDSI • การควบคุมโรค : มีความครอบคลุมของ EPI และมีระบบการสืบสวนโรคและจัดการโรคติดต่อในเด็ก ยังพบโรคพบหัด และคางทูมในเด็ก

  6. การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น • การจัดบริการในหน่วยบริการ : คลินิกที่เป็นมิตรกับวัยรุ่นทุก รพ. + สายด่วนให้คำปรึกษา • การเชื่อมโยงภาคีเครือข่าย ในการดำเนินงานทั้งโรงเรียน NGO พม. และ อปท. • การคืนข้อมูล (Feedback) ให้กับภาคีที่เกี่ยวข้องในการร่วมดำเนินการ เช่น พม. และ อปท.ที่ต้องเป็นภาคีหลักในการแก้ไขปัญหา

  7. ผลการดำเนินงาน

  8. ผลการดำเนินงาน

  9. ข้อเสนอแนะ 1.1 กลุ่มเด็กและสตรี

  10. ข้อเสนอแนะ 1.1 กลุ่มเด็กและสตรี

  11. 1.2 กลุ่มเด็กปฐมวัย สภาพการณ์ • - มีการดำเนินการเป็นไปแนวทางศูนย์เด็กคุณภาพ โดยบูรณาการทั้งมาตรฐานกรมอนามัย กรมควบคุมโรค และ อปท. • สภาวะทันตสุขภาพเด็กเป็นไปตามเป้าหมายประเทศ มีการจัดบริการพื้นฐานในทุกหน่วยบริการที่มีทันตบุคลากร และมีการสร้างกระแสรณรงค์ “ลูกรักฟันดีเริ่มที่ซี่แรก” บางหน่วยบริการมีการสร้างกระบวนการเรียนให้กับครอบครัวชุมชนในการดูแลทันตสุขภาพเด็ก • - ผลงาน

  12. ผลการดำเนินงาน

  13. 1.2 กลุ่มเด็กปฐมวัย ข้อเสนอแนะ

  14. 1.3 กลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน สภาพการณ์ • - กรอบใหญ่การดำเนินการใช้มาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพในการดำเนินการ ปัจจุบันมีโรงเรียนระดับเพชร 2 แห่ง รร.อนุบาลวัดคลองใหญ่ รร.ชุมชนวัดบางกระดาน • มีการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพ ในรูปเครือข่ายโรงเรียนเด็กไทยฟันดี โดยมีเครือข่ายโรงเรียนผ่านมาตรระดับยอดเยี่ยม 1 แห่ง ดีเด่น 2 แห่ง • มีระบบเฝ้าระวัง ควบคุมโรคในเด็กวัยเรียน ปัญหาโรคติดต่อที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นคือไข้เลือดออก • Psychosocial clinic เริ่มเห็นเป็นรูปธรรม ต้องพัฒนาในเชิงความเชื่อมโยงระหว่างโรงเรียน และโรงพยาบาล การบันทึก การจัดเก็บข้อมูล การวาง Flow การทำวางที่เป็นระบบ • อนามัยเจริญพันธุ์ในเด็กวัยเรียน :มีการวิเคราะห์ปัญหา เชื่อมโยงการทำงานกับอนุกรรมการเอดส์ระดับจังหวัด NGO อปท. บูรณาการกับตั้งครรภ์วัยรุ่น ผลงานเด่น คือขับเคลื่อนให้เพศศึกษาเป็นวิชาเลือกใน รร. มีการจัดหาหรือการเข้าถึง ซึ่งถุงยางอนามัยอย่างเพียงพอ ขนาดเบอร์ที่เหมาะสม

  15. ผลการดำเนินงาน

  16. 1.3 กลุ่มเด็กวัยรุ่น วัยเรียน ข้อเสนอแนะ

  17. 1.4 กลุ่มวัยทำงาน สภาพการณ์ • - ตราดมีการพัฒนา Trat NCD model • - Goal setting • คัดรองเชิงรุก • Risk classification + Practice guideline • Time Frame การปฏิบัติงานที่ชัดเจน • มีระบบคัดกรอง เฝ้าระวังมะเร็ง ผลงาน

  18. กำหนดนโยบาย/แนวทางการดำเนินงานกำหนดนโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน

  19. กำหนดนโยบาย/แนวทางการดำเนินงานกำหนดนโยบาย/แนวทางการดำเนินงาน

  20. ผลการดำเนินงาน

  21. ผลการดำเนินงาน **ต้องนำเข้าคณะกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคพิจารณา**

  22. 1.4 กลุ่มวัยทำงาน ข้อเสนอแนะ

  23. 1.4 กลุ่มวัยทำงาน ข้อเสนอแนะ

  24. 1.5 กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ สภาพการณ์ - มีการจัดทำแผน IRBM สนับสนุนการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ - มีระบบตรวจคัดกรอง เฝ้าระวังสุขภาพ ผสอ. - ADL : ติดบ้าน 5.73% ติดเตียง 1.44% - HT 83.88% DM 55.7% MI 71.69% Stroke 55.56% Resp. sys 68.44% - มีจำนวนของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการ ในช่วง ตค. 55 – มค. 56 คิดเป็นร้อยละ 34.36 ของเป้าหมายที่กำหนดไว้ คาดว่าน่าจะบรรลุผลได้ตามเป้าหมาย - จังหวัดมีระบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ มีการดำเนินงานตำบล Long term care จนเป็นต้นแบบ 3 ที่ คือ ต.อ่าวใหญ่ อ.เมือง , ต.แหลมงอบ อ.แหลมงอบ, ต.คลองใหญ่ อ.คลองใหญ่ - แหล่งเรียนรู้การพึ่งตนเองในด้านการส่งเสริมสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ที่ อ.แหลมงอบ -คลินิกผู้สูงอายุ ตาเลือนราง เวชกรรมฟื้นฟู ใน รพ.ตราด ผลงาน

  25. ผลการดำเนินงาน

  26. 1.4 กลุ่มวัยทำงาน ข้อเสนอแนะ

  27. 1.6 สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการดำเนินงานสุขภาพ สภาพการณ์ • - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตราดได้จัดทำโครงการคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดตราด ปี 2556 ในการพัฒนาสถานประกอบการผลิตอาหาร ยาแผนโบราณ และเครื่องสำอาง รวมถึง เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์และสถานประกอบการให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งเก็บผลิตภัณฑ์เพื่อเฝ้าระวังคุณภาพ • โรงเรียนปลอดน้ำอัดลม บรรลุเป้าหมาย และได้รับการประกาศเป็นจังหวัดปลอดน้ำอัดลมเต็มพื้นที่ และสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาอ่อนหวาน (รร.ปลอดน้ำอัดลมมากกว่า 90%) • - จังหวัดมีการดำเนินการสถานบริการสาธารณสุขและส่งเสริมสุขภาพปลอดบุหรี่ เป็นตามข้อกำหนด • - บูรณาการการทำงานและเชื่อมโยงกับเครือข่าเยาวชนลดเหล้า ยาสูบ • - รณรงค์สร้างกระแส ร่วมกับยาเสพติด • - สุ่มสำรวจติดตาม ตรวจเตือน ผลงาน

  28. ผลการดำเนินงาน

  29. 1.6 สิ่งแวดล้อมและระบบที่เอื้อต่อการดำเนินงานด้านสุขภาพ

  30. 1.7 ความรอบรู้ด้านสุขภาพ สภาพการณ์ - บูรณาการกับงาน NCD ผลงาน

  31. ผลการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะ - จังหวัดควรใช้โปรแกรมของ สบส.ในการวิเคราะห์ผลงาน - ข้อมูลที่ได้ควรวิเคราะห์ GAP ใน 3อ 2ส และวางแผนการจัดกิจกรรมอย่างเหมาะสมรายกิจกรรม

  32. 1.8 กลุ่มการป้องกันและควบคุมโรค สภาพการณ์ -จังหวัดตราดได้จัดลำดับของปัญหาสำคัญ พบว่าวัณโรคเป็นโรคติดต่อ ที่มีความสำคัญเป็นลำดับที่สาม จึงกำหนด ให้มีพัฒนาศักยภาพบุคลากร พัฒนาระบบการจัดบริการคลินิกวัณโรค เพื่อให้ได้มาตรฐานสากล การค้นหาต้องดำเนินในทุกกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ผู้มีอาการสงสัยวัณโรค ผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน กลุ่มผู้ติดเชื้อผู้ป่วยเอดส์ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง กลุ่มผู้ต้องขัง การประเมินผลการรักษา พบว่าอัตราความสำเร็จในการรักษาวัณโรคมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น แต่ยังคงต่ำกว่าเป้าหมาย -โรคไข้เลือดออกของจังหวัดตราดเป็นอันดับ 3ของเขตอัตราป่วย 13.96 ต่อแสนประชากรและยังเป็นโรคที่ต้องเฝ้าระวังอันดับ 5 ของจังหวัดจากรายงานเฝ้าระวังด้านระบาดวิทยาตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค.2556ถึงวันที่ 22 ก.พ.2556ไม่พบผู้ป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออกแต่พบว่าจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมีจำนวนมากกว่า ค่ามัธยฐาน 5 ปี ย้อนหลัง (ปี51-55) จึงต้องมีการเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง ผลงาน

  33. ผลการดำเนินงาน

  34. ภาพรวมคณะที่ 1 • จังหวัดมีการดำเนินงานครบทุกประเด็น ในภาพใหญ่ของจังหวัดใช้กรอบ IRBM เป็นเครื่องมือขับเคลื่อน • ในประเด็นย่อยเห็นกรอบการทำงานชัดเจน ค่อนข้างเป็นรูปธรรมในงานกลุ่มแม่และเด็ก NCD เอดส์ และ NCD น่าจะเป็นแบบอย่างในการดำเนินงานในเขต • ประเด็นการส่งเสริมสุขภาพหลายเรื่อง ได้กำหนดเป็นประเด็นจังหวัด มีภาคีเครือข่ายการดำเนินงานชัดเจน • หลายตัวชี้วัดไม่ชัดเจน มีปัญหาในระบบข้อมูล โดยเฉพาะ 43 แฟ้มที่มีความซับซ้อน ไม่ Practical สำหรับผู้ปฏิบัติทั้งในเชิงการลงข้อมูล การวิเคราะห์ การดึงข้อมูลมาใช้ประโยชน์

  35. ข้อเสนอแนะสำหรับส่วนกลางข้อเสนอแนะสำหรับส่วนกลาง • ประสาน สนย.ในการพัฒนาระบบ 43 แฟ้มให้กับจังหวัด • ในการนิเทศรอบ 2 ควรให้ สนย. มาร่วมร่วมนิเทศ และรับทราบปัญหาอุปสรรคของระบบข้อมูลในพื้นที่

  36. สวัสดี

More Related