1 / 29

บทที่ 4 การแปลงข้อมูล

บทที่ 4 การแปลงข้อมูล. การแปลงข้อมูลของตัวแปร 1 ตัวแปร หรืออาจมากกว่า 1 ตัวแปรก็ได้ เมื่อแปลงข้อมูลแล้วจะทำการเก็บข้อมูลในชื่อตัวแปรเดิมหรือเก็บในชื่อตัวแปรใหม่. ในโปรแกรม SPSS การแปลงข้อมูลทำได้โดยใช้ Menu Transformation…. การแปลงข้อมูลอาศัยฟังก์ชั่นต่างๆ. แบ่งออกเป็น 7 กลุ่มด้วยกัน.

Télécharger la présentation

บทที่ 4 การแปลงข้อมูล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทที่ 4 การแปลงข้อมูล การแปลงข้อมูลของตัวแปร 1 ตัวแปร หรืออาจมากกว่า 1 ตัวแปรก็ได้ เมื่อแปลงข้อมูลแล้วจะทำการเก็บข้อมูลในชื่อตัวแปรเดิมหรือเก็บในชื่อตัวแปรใหม่ ในโปรแกรม SPSS การแปลงข้อมูลทำได้โดยใช้ Menu Transformation….

  2. การแปลงข้อมูลอาศัยฟังก์ชั่นต่างๆการแปลงข้อมูลอาศัยฟังก์ชั่นต่างๆ แบ่งออกเป็น 7 กลุ่มด้วยกัน 1. Arithmetic functions 2. Statistical functions 3. Distribution functions 4. Logical functions 5. Date and time aggregation and extraction fcn. 6. Random number fcn. 7. Other fcn.

  3. คำสั่งย่อยใน menu transformation 1. Compute 2. Random number seed 3. Count 4. Recode 5. Rank cases 6. Automatic recode 7. Create time series 8. Replace missing values โดยปกติในการวิเคราะห์มักใช้คำสั่งย่อยที่ 1-6 ส่วนคำสั่งย่อยที่ 7-8 ใช้ในการวิเคราะห์อนุกรมเวลา

  4. Compute Menu Transformation > Compute... หน้าจอจะปรากฏ box ของ target variable ทางซ้ายมือ ซึ่งจะต้องใส่ชื่อตัวแปรใหม่ที่ทำการแปลงข้อมูล (อาจใช้ชื่อตัวแปรเดิมก็ได้แต่ข้อมูลเดิมจะถูกแทนที่ด้วยข้อมูลที่แปลงแล้ว) Box ทางซ้ายด้านล่างเป็น variable list จะปรากฏเฉพาะตัวแปรที่เป็น numeric เท่านั้น

  5. Box ทางขวามือด้านบนใส่ชื่อตัวแปรที่ต้องการแปลง พร้อมทั้งระบุว่าต้องการแปลงด้วยฟังก์ชันอะไร ในโปรแกรม SPSS มีฟังก์ชันชั่นให้เลือกหลายแบบด้วยกันโดยจัดเป็นกลุ่มได้ 7 อย่างที่กล่าวมาแล้วข้างต้น นอกจากนี้ยังมี calculator pad ให้ใช้เพื่อความสะดวกเหมือนกับทำการคำนวณโดยใช้เครื่องคิดเลข

  6. คำสั่งย่อย If... คือการกำหนดเงื่อนไขเป็นกรณีๆไป เช่นต้องการพนักงานที่มีลักษณะของงานเป็น clerical เท่านั้น ก็สามารถทำได้ หน้าจอจะปรากฏทางเลือก 2 ทางคือ 1. Include all cases : คำนวณทุก case (default) 2. Include if case satisfies conditions : คำนวณเฉพาะ case ที่เลือกไว้ตามเงื่อนไขที่กำหนด

  7. Count การใช้คำสั่ง count เพื่อนับค่าของตัวแปรที่กำหนด Menu Transform > Count หน้าจอจะปรากฏ box ทางซ้ายมือเป็น Target Variable เราจะต้องตั้งชื่อตัวแปรใหม่ใน box นี้ ด้านขวามือมี box ของ Target Label และ Numeric Variable

  8. Target Label : box นี้มีไว้สำหรับนิยามตัวแปร Numeric Variable : คือตัวแปรที่ต้องการนับค่าโดยต้องระบุ Define Values ควบคู่กันไป เมื่อ click define values : หน้าจอจะปรากฏ Value ทางซ้ายมือ และ Values to count ทางขวามือ

  9. การเลือกในกลุ่ม Value สามารถเลือกได้ดังรายการต่อไปนี้ 1. Value : นับค่าที่กำหนด 1 ค่า เช่น minority = 1 2. System-missing : ในกรณีที่ไม่ได้นิยามค่าของตัวแปรไว้ 3. System-missing or user-missing : ในกรณีที่ผู้ใช้กำหนดค่า missing-value ไว้เรียบร้อยแล้ว 4. Range : นับค่าในช่วงที่กำหนด

  10. 5. Range Lowest Through n : นับค่าในช่วงต่ำสุดจนถึงค่า n ที่กำหนด 6. Range n through Highest: นับค่าตั้งแต่ค่า n จนถึง ค่าสูงสุด เมื่อทำการเลือก Value ทางซ้ายมือเรียบร้อยแล้ว click ที่ add ใส่ใน box ทางขวามือ นอกจากนี้ยังสามารถ Remove (เอาออก) หรือเปลี่ยน Change เมื่อเรียบร้อยแล้วก็ click Continue > OK

  11. คำสั่ง If 1. Include all cases : นับทุกค่า (default) 2. Include if cases satisfies condition : นับค่าที่สอดคล้องกับเงื่อนไขเท่านั้น

  12. การใช้คำสั่ง Recode เป็นการแปลงค่าของข้อมูลของตัวแปรเดิมให้มีค่าใหม่ตามที่กำหนด โดยอาจเก็บค่าใหม่ไว้ในชื่อตัวแปรใหม่ หรืออาจเก็บไว้ในชื่อของตัวแปรเดิม (ในกรณีนี้ค่าเดิมจะหายไปกลายเป็นค่าใหม่) 1. Into same variables.. (ตัวแปรเดิม) 2. Into different variables.. (ตัวแปรใหม่) ทำการเลือก 1 ในทางเลือกนี้ก่อนที่จะดำเนินการต่อไป

  13. Menu Transformation > Recode > Into same Variabes.. > Into different variables.. ถ้าเลือก Into same Variabes.. หน้าจอจะปรากฏ box ทางขวามือเป็น box ของ Numeric Variables.. ใส่ชื่อตัวแปรที่ต้องการเปลี่ยนค่าใน box นี้ Click Old and New Values

  14. หน้าจอจะปรากฏกลุ่มของ Old Value ทางด้านซ้ายมือ และ box ของ New Value ทางขวามือด้านบน เลือกค่าที่ต้องการเปลี่ยนแล้วใส่ค่าใหม่ลงใน box New Value click add ทีละครั้งจนครบทุกค่าที่ต้องการเปลี่ยน นอกจากนี้ยังสามารถเปลี่ยนค่า New Value จากที่กำหนดไว้เดิมเป็นค่าใหม่ได้โดย click change แต่ถ้าต้องการลบทิ้งค่าที่เคยกำหนดไว้ click Remove

  15. สำหรับคำสั่ง System-missing เป็นการสั่งให้กำหนดค่า missing value ให้เป็นไปตามระบบโดยไม่แสดงค่าใดข้อมูลใน data editor จะเป็น cell ว่างๆ Click System-missing [or System-user missing] > Click System missing [New Value] > Add

  16. Output Variables are strings การเลือกใช้คำสั่งนี้เพื่อต้องการเปลี่ยนค่าของตัวแปรเดิมซึ่งอาจเป็นตัวแปรประเภท numeric หรือ string ให้เป็นตัวแปรใหม่ประเภท string ใส่ค่าตัวแปรเก่าใน Old Value [อาจเป็น string] ใส่ string ที่ต้องการเปลี่ยนใน New ValueClick Add

  17. Convert numeric strings to numbers เป็นการแปลงค่าโดยที่ตัวแปรเดิมเป็น string ให้เป็นตัวแปรใหม่ที่เป็นประเภท numeric ทำเช่นเดียวกับการแปลงค่าอื่นๆ Old New String Numeric

  18. คำสั่ง If... 1. Included all cases : แปลงทุกค่าตามที่กำหนดไว้ (default) 2. Include if cases satisfies condition : แปลงเฉพาะค่าที่ กำหนดไว้ในเงื่อนไขของ If

  19. ในกรณีที่เลือกเก็บค่าที่แปลงไว้ในตัวแปรใหม่ในกรณีที่เลือกเก็บค่าที่แปลงไว้ในตัวแปรใหม่ Recode > Into different Variables.. หน้าจอจะปรากฏ box ทางขวามือเป็น box ที่ต้องใส่ชื่อตัวแปร numeric ที่ต้องการเปลี่ยนค่าจาก Variable list ใน box ทางซ้ายมือ เลือกตัวแปรได้แล้ว ใส่ชื่อตัวแปรใหม่ใน boxOutput Variable > click Change ตัวแปรเดิม ตัวแปรใหม่

  20. ถ้าต้องการเปลี่ยนชื่อที่ได้ตั้งชื่อใหม่ไปแล้วถ้าต้องการเปลี่ยนชื่อที่ได้ตั้งชื่อใหม่ไปแล้ว 1. click ชื่อตัวแปรใน box Variable Output Variable 2. ใส่ชื่อตัวแปรใหม่ที่ต้องการลงใน Output Variable name 3. Click Change ชื่อตัวแปรก็จะเปลี่ยนตามต้องการ

  21. Menu Transformation > Rank cases เป็นการแปลงข้อมูลประเภท numeric ให้อยู่ในรูปของการให้ค่าตำแหน่ง (rank) แก่ตัวแปรที่ต้องการแปลงข้อมูล หน้าจอจะปรากฏ box ทางขวามือ 2 box 1. Box แรกคือ box ของตัวแปรที่ต้องการ rank 2. Box ที่สองคือตัวแปรที่ระบุว่าให้ rank ตามตัวแปรที่ระบุใน box นี้

  22. ตัวอย่าง Var1 : 11 12 14 11 10 15 18 17 16 15 14 12 10 Var2 : 0 0 0 0 1 1 1 1 2 2 2 2 3 1. Rank Var1 โดยไม่ระบุตัวแปรที่ต้อง rank ตาม 2. Rank Var1 by Var2

  23. การ rank ทำได้ 2 วิธีคือ (เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง) 1. Rank จากน้อยไปมาก [ให้ค่าน้อยที่สุดเท่ากับ 1 default] 2. Rank จากมากไปน้อย [ให้ค่ามากที่สุดเท่ากับ 1] Display summary table : แสดงตารางสรุป ตัวแปรเก่า ตัวแปรใหม่

  24. Ties : Rank assigned to ties... การเลือกใช้คำสั่งนี้เพราะต้องการกำหนด rank เมื่อมีค่าซ้ำ (tie observations) เกิดขึ้น กำหนดได้ 4 แบบด้วยกันทำการเลือก 1 ทางเลือกต่อไปนี้ 1. Mean : ใช้ค่าเฉลี่ย rank ในกรณีที่มีค่าซ้ำ (default) 2. Low : ใช้ rank อันดับต่ำที่สุด 3. High : ใช้ rank อันดับสูงที่สุด 4. Sequential ranks to unique values : ใช้ rank อันดับต่ำที่สุดตามด้วยอันดับถัดไปไม่ข้ามอันดับอย่างการใช้ Low

  25. Rank Types : การเลือกใช้คำสั่งนี้เพราะต้องการให้อันดับข้อมูลตามที่ต้องการ สามารถเลือกได้มากกว่า 1 ทางเลือก 1. Rank : เรียงอันดับโดยปกติ (default) 2. Savage score : เรียงลำดับภายใต้การแจกแจงแบบ Exponential 3. Fractional rank : เมื่อเรียงอันดับแล้วหารแต่ละค่าอันดับด้วย จำนวนข้อมูลทั้งหมด (N) 4. Fractional rank as % : ใช้ Fractional rank คูณด้วย 100

  26. 5. Sum of case weights : ให้ค่าของตัวแปรคงที่สำหรับcases ในกลุ่มเดียวกัน 6. N tiles : กำหนด number of percentiles ถ้า click more หน้าจอจะเพิ่มขึ้น เป็นการสร้างตัวแปรใหม่โดยอาศัย 1. Proportion Estimation 2. Normal Score

  27. Proportion Estimates : ใช้ค่าสัดส่วนสะสมของพื้นที่หรือการแจกแจงที่กำหนดขึ้น Normal Score : ตัวแปรใหม่เป็นการแจกแจงแบบปกติมาตรฐาน สามารถเลือกได้จากสูตรต่อไปนึ้คือ 1. Bloom (default) 2. Tukey 3. Rankit 4. Von der Waerden

  28. Menu Transformation > Automatic Recode เป็นการแปลงข้อมูล (Recode) โดยอัตโนมัติเราไม่ต้องกำหนดค่า New Value โปรแกรมจะกำหนดให้ เมื่อเลือกใช้คำสั่งนี้หน้าจอจะปรากฏ Box ทางขวามือเป็น Variable NewName 1. ใส่ตัวแปรที่ต้องการแปลงใน box นี้ 2. ใส่ชื่อตัวแปรใหม่ใน box New Name click

  29. เลือก Recode : Recode starting from 1. Lowest values : recode จากค่าน้อยไปมาก (default) 2. Highest values : recode จากค่ามากไปน้อย

More Related