1 / 28

Bureau of Research & Development

Bureau of Research & Development. โครงการพัฒนาอาชีพแบบบูรณาการ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน C.Poors (Career Development for the Poors). 1. ใช้งบของศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติ(ศตจ.)ซึ่งมีวัตถุประสงค์เฉพาะเจาะจงคือ

frayne
Télécharger la présentation

Bureau of Research & Development

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Bureau of Research & Development โครงการพัฒนาอาชีพแบบบูรณาการ เพื่อแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน C.Poors (Career Development for the Poors) BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  2. 1. ใช้งบของศูนย์อำนวยการต่อสู้เพื่อเอาชนะความยากจนแห่งชาติ(ศตจ.)ซึ่งมีวัตถุประสงค์เฉพาะเจาะจงคือ ต้องทำกับคนยากจนเท่านั้น และเป็นงบด้านแรงงานและสวัสดิการสังคม (แรงงานนอกภาคเกษตร) 1.เป้าหมายคือประชาชนที่สนใจพัฒนาอาชีพหรือต้องการเปลี่ยนอาชีพไม่เฉพาะเจาะจงว่าต้องเป็นคนจน/ใช้งบประมาณของ สอศ.เป็นหลัก และไม่เน้นว่าเป็นแรงงานด้านใด(แรงงานในภาคเกษตรหรือแรงงานนอกภาคเกษตร ความแตกต่างระหว่าง C.Poors กับโครงการบูรณาการอาชีพ 108 อาชีพ, มหกรรมอาชีพ BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  3. 2. อศจ./วิทยาลัย ต้องมีกระบวนการตรวจสอบ ยืนยันข้อมูล ผู้ที่เข้าร่วมโครงการซึ่งต้องเป็นคนยากจนจริง มีชื่ออยู่ในทะเบียนหรือไม่มีชื่อแต่ยากจนจริง 2. ฝึกอบรมแก่ผู้สนใจโดยทั่วไป ความแตกต่างระหว่าง C.Poors กับโครงการบูรณาการอาชีพ 108 อาชีพ, มหกรรมอาชีพ BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  4. 3. มุ่งให้เกิดการเรียนรู้(learning)และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้(knowledge sharing) ในการพัฒนาเรื่องอาชีพตามศักยภาพของตนเองและท้องถิ่นได้ในระยะยาว และเน้นการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญที่เป็น the best practice 3. มุ่งการฝึก(training)ให้แก่ผู้เข้ารับการฝึกอาชีพ ความแตกต่างระหว่าง C.Poors กับโครงการบูรณาการอาชีพ 108 อาชีพ, มหกรรมอาชีพ BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  5. 4. พื้นที่ปฏิบัติงานของโครงการ คือ ชุมชนยากจนโดยมุ่งถึงครัวเรือน เป็นการขยายโอกาสให้คนจนได้รับบริการการเรียนรู้ด้านอาชีพ 4. สถานศึกษากำหนดพื้นที่เป้าหมายตามความต้องการของชุมชน ความแตกต่างระหว่าง C.Poors กับโครงการบูรณาการอาชีพ 108 อาชีพ, มหกรรมอาชีพ BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  6. 5. ตัวชี้วัด กระบวนการ(จัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลผลิต (คนยากจนที่ร่วมโครงการไม่น้อยกว่า 20,000 คน และ ผลลัพธ์ชั้นสูงสุด คือคนยากจนทั้ง 20,000 คนมีอาชีพและมีรายได้เฉลี่ยต่อครอบครัวเพิ่มขึ้น มีรายได้ที่แน่นอน หลุดพ้นจากความยากจน ภายหลังจากโครงการได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้ว 5. การกำหนดตัวชี้วัดจากผลสัมฤทธิ์ของการฝึกอบรมและจำนวนผู้ผ่านการอบรม ความแตกต่างระหว่าง C.Poors กับโครงการบูรณาการอาชีพ 108 อาชีพ, มหกรรมอาชีพ BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  7. Bureau of Research & Development C. Poors กับ งานด้านวิจัย โดย ดร.วีระพันธ์ โชติวนิช และ อาจารย์นุชนาฏ เจริญหลาย BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  8. แผนปฏิบัติงานโครงการ BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  9. แผนปฏิบัติงานโครงการ BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  10. ลงมือปฏิบัติขั้นตอนการต้มแยกไขมันจากเส้นฝ้ายลงมือปฏิบัติขั้นตอนการต้มแยกไขมันจากเส้นฝ้าย กิจกรรมเพาะเห็ดนางฟ้าในถุงพลาสติกเป็นผลงานกลุ่ม BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  11. BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  12. BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  13. BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  14. เรื่องเล่า(Story telling) ? ? คุณลิขิต คุณอำนวย BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  15. ความรู้จากการเรียนรู้และประสบการณ์ จากการปฏิบัติจริง กลุ่มผู้มีความรู้ผลิตเชื้อเห็ดในเมล็ดธัญพืช กลุ่มผู้มีความรู้ด้านการผลิตก้อนเชื้อเห็ด กลุ่มมีความรู้ด้านการแปรรูปเห็ด ความรู้จากการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการผลิต ความรู้จากการเรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่มและการแลกเปลี่ยนในเวที การเรียนรู้ที่จะปรับตัวเข้ากับผู้นำชุมชน TAWORN TIPPAWAN Design 2549

  16. แปรรูปเห็ด Explicit knowledge Tool and Technology TAWORN TIPPAWAN Design 2549

  17. แปรรูปเห็ด Explicit knowledge Tool and Technology TAWORN TIPPAWAN Design 2549

  18. สอนโดยใช้บุคลากรนอกกลุ่ม(ครู วิทยาลัยเทคนิคยะลา)เฟอร์นิเจอร์ BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  19. The best practice BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  20. RE SEARCH การวิจัย = การแสวงหา / ค้นแล้วค้นอีก 1. ค้นทำไม …………..ปัญหา(สิ่งที่ยังไม่รู้/สิ่งที่อยากรู้) 2. ค้นอะไร …………..หาคำตอบ (เหตุผล/ตรรก) (เพื่อแก้ปัญหา/ตอบสนองความอยาก) 3. ค้นอย่างไร …………ค้นอย่างเป็นระบบเพื่อการนำเสนอ อย่างมีขั้นตอน BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  21. การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นขั้นตอนเพื่อการหาข้อเท็จจริง โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อนำมาวิเคราะห์ปัญหาอย่างมีระบบ ในที่สุดอาจนำไปสู่ความรู้ใหม่ ซึ่งอาจเป็นหลักการ กฎ ทฤษฎี การวิจัย(Research) * กระบวนการให้ได้มาซึ่งข้อความรู้ที่เชื่อถือได้ BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  22. องค์ประกอบของการวิจัยองค์ประกอบของการวิจัย ความเป็นเหตุเป็นผล มีข้อมูลสนับสนุน ตรวจสอบได้ การวิจัย กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้เพื่อตอบคำถามหรือแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ความรู้(เนื้อหา) เชื่อถือได้อ้างอิงได้ ความเป็น ระบบ BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  23. การติดตามผลและหาประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำไม้กวาดจากดอกหญ้าการติดตามผลและหาประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำไม้กวาดจากดอกหญ้า • ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • วัตถุประสงค์ของการวิจัย • เพื่อหารูปแบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด • สมมุติฐานของการวิจัย • รูปแบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 • ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีผลสัมฤทธ์ทางการปฏิบัติสูงขึ้นหลังการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  24. การติดตามผลและหาประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำไม้กวาดจากดอกหญ้าการติดตามผลและหาประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำไม้กวาดจากดอกหญ้า • ขอบเขตของการวิจัย • การติดตามผลและหาประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำไม้กวาดจากดอกหญ้า 2 ตำบล • รูปแบบการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีไม่เกิน 2 รูปแบบ • ข้อตกลงเบื้องต้น • กลุ่มตัวอย่างทุกคนมีความตั้งใจในการปฏิบัติ • การติดตามผลและหาประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นไปตามการลงมติตัดสินใจของผู้เชี่ยวชาญ BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  25. การติดตามผลและหาประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำไม้กวาดจากดอกหญ้าการติดตามผลและหาประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำไม้กวาดจากดอกหญ้า • วิธีการดำเนินวิจัย • กำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง • สร้างเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย • ดำเนินการทดลองและเก็บข้อมูล • วิเคราะห์ข้อมูลและสถิติที่ใช้สำหรับการวิจัย • อภิปรายผล • สรุปผลกาวิจัย • ข้อเสนอแนะ BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  26. การติดตามผลและหาประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำไม้กวาดจากดอกหญ้าการติดตามผลและหาประสิทธิภาพการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การทำไม้กวาดจากดอกหญ้า • ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ • ผลการหาประสิทธิภาพเป็นการเพิ่มความเชื่อมั่นในรูปแบบการแลกเปลี่ยนความรู้ • มีการก่อเกิดและพัฒนารูปแบบการแลกเปลี่ยนความรู้ BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  27. BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

  28. สวัสดี BRD โดย ดร.วีระพันธ์ และ อาจารย์ นุชนาฏ

More Related