1 / 16

KM ( Knowledge Management) ด้านการจัดการเรียนการสอน

KM ( Knowledge Management) ด้านการจัดการเรียนการสอน. วิชาการฝึกปฏิบัติงานเวชกิจฉุกเฉิน 1. การประชุมเพื่อหารูปแบบและวิธีการฝึกปฏิบัติงาน. 1. อาจารย์นิเทศและอาจารย์พี่เลี้ยงในแต่ละแหล่งฝึกที่ได้รับการคัดเลือกจากการสำรวจแหล่งฝึกปฏิบัติงานประชุมร่วมกันในประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้

freira
Télécharger la présentation

KM ( Knowledge Management) ด้านการจัดการเรียนการสอน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. KM (Knowledge Management) ด้านการจัดการเรียนการสอน วิชาการฝึกปฏิบัติงานเวชกิจฉุกเฉิน 1

  2. การประชุมเพื่อหารูปแบบและวิธีการฝึกปฏิบัติงานการประชุมเพื่อหารูปแบบและวิธีการฝึกปฏิบัติงาน • 1. อาจารย์นิเทศและอาจารย์พี่เลี้ยงในแต่ละแหล่งฝึกที่ได้รับการคัดเลือกจากการสำรวจแหล่งฝึกปฏิบัติงานประชุมร่วมกันในประเด็นต่างๆ ดังต่อไปนี้ • 1.1 ทักษะที่นักศึกษาที่จะต้องทำการฝึกปฏิบัติงาน • 1.2 การเก็บประสบการณ์ของนักศึกษา • 1.3 ความรู้และทักษะที่นักศึกษาได้รับการฝึกทดลองหรือฝึกปฏิบัติที่วิทยาลัย • 1.4 รูปแบบและระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงาน

  3. การประชุมเพื่อหารูปแบบและวิธีการฝึกปฏิบัติงานการประชุมเพื่อหารูปแบบและวิธีการฝึกปฏิบัติงาน • 2. ข้อเสนอแนะจากอาจารย์พี่เลี้ยงนำมาปรับปรุงคู่มือกรฝึกปฏิบัติงานเวชกิจฉุกเฉิน 1 • 2.1 การเก็บประสบการณ์ของนักศึกษามีความเหมาะสม • 2.2 ทักษะประสบการณ์ บางอย่างนักศึกษาต้องฝึกปฏิบัติจนชำนาญจึงจะสามารถเซ็น Case ได้ • 2.3 การเตรียมความพร้อม และความรู้ของนักศึกษาก่อนไปฝึกปฏิบัติงาน

  4. การประชุมเตรียมความพร้อมนักศึกษาการประชุมเตรียมความพร้อมนักศึกษา • 1. ชี้แจงคู่มือการฝึกปฏิบัติงานเวชกิจฉุกเฉิน 1 • 1.1 คู่มือทักษะการฝึกปฏิบัติงาน • 1.2 แบบประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติตน • 1.3 แบบประเมินทักษะการปฏิบัติงาน • 2. ชี้แจงเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ในการออกฝึกปฏิบัติงาน • 3. การเตรียมความพร้อมทั้งในด้านความรู้ ทักษะในการฝึกปฏิบัติงาน

  5. สรุปผลการฝึกปฏิบัติงานสรุปผลการฝึกปฏิบัติงาน • นักศึกษา • 1. การเก็บ Case ประสบการณ์มากเกินไป ระยะเวลาในการฝึกปฏิบัติงานมีน้อย • 2. นักศึกษาขาดความรู้และทักษะ ต้องมีการฝึกจนชำนาญจึงจะสามารถเก็บ Case ได้ • 3. การทำ Case Study ควรมีการฝึกปฏิบัติทำ Case ตั้งแต่อยู่ในวิทยาลัยฯจนชำนาญ เพราะนักศึกษาส่วนใหญ่ไม่มีประสบการณ์ • 4. การทำ Case Conference นักศึกษาไม่มีประสบการณ์อยากให้วิทยาลัยฯ สอนหรือฝึกปฏิบัติที่วิทยาลัยฯก่อนออกฝึกปฏิบัติงาน

  6. สรุปผลการฝึกปฏิบัติงานสรุปผลการฝึกปฏิบัติงาน • อาจารย์พี่เลี้ยง • 1. นักศึกษาขาดความรู้และทักษะในการเก็บประสบการณ์ • 2. นักศึกษาขาดการเตรียมความพร้อม ไม่อ่าน/เตรียมความรู้ในสิ่งที่ควรรู้ • 3. ขาดความละเอียดในการเก็บรวบรวมข้อมูล • 4. ใช้ระยะเวลาในการทำงาน/รายงาน ค่อนข้างนาน

  7. ปัญหาการฝึกปฏิบัติงานปัญหาการฝึกปฏิบัติงาน • นักศึกษา • 1. ไม่มั่นใจในการเก็บ Case • 2. ไม่เข้าใจในข้อมูลที่ต้องรวบรวมมาทำ Case Study และ Case Conference • 3. รวบรวมข้อมูลไม่ครอบคลุม • 4. นำข้อมูลที่เป็นข้อวินิจฉัยของแพทย์มาเป็นข้อมูลสนับสนุน • 5. การเก็บ Case ประสบการณ์บางอย่างมีความยุ่งยาก

  8. การแก้ปัญหา • 1. สอนเรื่องการศึกษา Case Study และ Case Conference ให้ละเอียดและฝึกปฏิบัติ • 2. สอนเน้นย้ำเรื่องการรวบรวมข้อมูล การประเมินสภาพผู้ป่วย • 3. ทบทวนความรู้ และทักษะที่นักศึกษาไม่เข้าใจ และมีความยุ่งยาก • 4. Post – Conference ในภาพรวม

  9. การแก้ปัญหา • 5. การเก็บประสบการณ์ในส่วนที่เกี่ยวกับการประเมินสภาพ การซักประวัติตรวจร่างกาย การทำ Case Study และ Case Conferenceควรเน้น Anatomy Physiology ที่เปลี่ยนแปลง • 6. Pre – conference ต้องให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการนำเสนอ

  10. การจัดการความรู้วิชา การฝึกปฏิบัติงานเวชกิจฉุกเฉิน 1 ที่มาของปัญหา อาจารย์นิเทศวิชา การฝึกปฏิบัติงานเวชกิจฉุกเฉิน 1 พบว่า • 1. นักศึกษาขาดความรู้และทักษะในการเก็บประสบการณ์ • 2. นักศึกษาขาดการเตรียมความพร้อม ไม่อ่าน/เตรียมความรู้ในสิ่งที่ควรรู้ • 3. ขาดความละเอียดในการเก็บรวบรวมข้อมูล • 4. ใช้ระยะเวลาในการทำงาน/รายงาน ค่อนข้างนาน

  11. การจัดการความรู้วิชา การฝึกปฏิบัติงานเวชกิจฉุกเฉิน 1 การจัดการความรู้วิชา การฝึกปฏิบัติงานเวชกิจฉุกเฉิน 1 • นักศึกษา • 1. ไม่มั่นใจในการเก็บ Case • 2. ไม่เข้าใจในข้อมูลที่ต้องรวบรวมมาทำ Case Study และ Case Conference • 3. รวบรวมข้อมูลไม่ครอบคลุม • 4. นำข้อมูลที่เป็นข้อวินิจฉัยของแพทย์มาเป็นข้อมูลสนับสนุน • 5. การเก็บ Case ประสบการณ์บางอย่างมีความยุ่งยาก

  12. กิจกรรมการจัดการความรู้กิจกรรมการจัดการความรู้ • แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างอาจารย์นิเทศวิชาการฝึกปฏิบัติงาน เวชกิจฉุกเฉิน 1 และอาจารย์พี่เลี้ยงประจำแหล่งฝึกของนักศึกษา • วิเคราะห์สาเหตุของการเกิดปัญหา • สรุปแนวทางการแก้ไขปัญหา การพัฒนาความรู้ ทักษะของนักษา และทบทวนทักษะการปฏิบัติการพยาบาลผู้ป่วย

  13. สรุปแนวทางการแก้ไขปัญหาสรุปแนวทางการแก้ไขปัญหา • 1. สอนเรื่อง การรวบรวมข้อมูล การประเมินสภาพผู้ป่วย การซักประวัติและการตรวจร่างกาย • 2. การใช้กระบวนการพยาบาลควรเน้น Anatomy Physiology ที่เปลี่ยนแปลง สามารถวิเคราะห์เชื่อมโยงทฤษฎีเกี่ยวกับโรคและพยาธิสภาพของผู้ป่วยได้ และนำไปสู่การวางแผนการช่วยเหลือผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับผู้ป่วยรายบุคคล • 3. การนำเสนอ Case Study และ Case Conference ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติจนชำนาญก่อนที่จะออกฝึกปฏิบัติงาน

  14. จุดแข็ง (Strength) • อาจารย์ที่ร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เป็นอาจารย์นิเทศและอาจารย์พี่เลี้ยงจากแหล่งฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา ซึ่งเห็นพฤติกรรมและพัฒนาการของนักศึกษา และสามารถส่งต่อข้อมูลนักศึกษาในรายที่มีปัญหา เพื่อได้รับการดูแลที่ต่อเนื่องจากอาจารย์นิเทศต่อไป

  15. ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จ • 1. การกำหนดประเด็นปัญหาที่ชัดเจน • 2. อาจารย์ให้ความร่วมมือ เห็นความสำคัญของปัญหาและต้องการพัฒนา • 3. บรรยากาศเป็นกันเอง ยอมรับฟังซึ่งกันและกัน • 4. มีการจัดเวลาในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไว้อย่างชัดเจน

  16. ปัจจัยที่นำไปสู่การทำงานวิจัยปัจจัยที่นำไปสู่การทำงานวิจัย • จากการฝึกปฏิบัติงานของนักศึกษา นักศึกษาพบว่า ทักษะบางอย่างมีความยุ่งยากในการให้การช่วยเหลือผู้ป่วย ทำให้เกิดความล่าช้า นักศึกษาที่ฝึกปฏิบัติงานจึงมีการคิดนวัตกรรมหรืองานสร้างสรรค์ เพื่อนำไปใช้ในการฝึกปฏิบัติงานหรือปฏิบัติงานต่อไปในอนาคตได้ เช่น การทำ KED, การทำที่ดามแขนขา, การทำไม้ช่วยพยุงเพื่อช่วยในการฟื้นฟูสมรรถภาพแขนหรือขา เป็นต้น

More Related