1 / 40

ระเบียบและคำแนะนำ เกี่ยวกับการเงินการบัญชีของสหกรณ์

ระเบียบและคำแนะนำ เกี่ยวกับการเงินการบัญชีของสหกรณ์. คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ พ.ศ. 2547. สินทรัพย์ที่มีไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการผลิต จำหน่ายสินค้า ให้บริการ ให้เช่า ใช้บริหารงาน ซึ่งคาดว่าจะใช้ประโยชน์มากกว่าหนึ่งรอบปีบัญชี.

giolla
Télécharger la présentation

ระเบียบและคำแนะนำ เกี่ยวกับการเงินการบัญชีของสหกรณ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบและคำแนะนำ เกี่ยวกับการเงินการบัญชีของสหกรณ์

  2. คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ พ.ศ. 2547

  3. สินทรัพย์ที่มีไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการผลิตสินทรัพย์ที่มีไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการผลิต จำหน่ายสินค้า ให้บริการ ให้เช่า ใช้บริหารงาน ซึ่งคาดว่าจะใช้ประโยชน์มากกว่าหนึ่งรอบปีบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ การวัดมูลค่าเริ่มแรก ซื้อสินทรัพย์ บันทึกด้วยราคาทุน ราคาซื้อ xx บวก ภาษี , ต้นทุนทางตรงอื่น ๆ xx หัก ส่วนลดการค้า , ภาษีที่ได้รับคืน xx ราคาทุน xx Dr.........(ประเภทสินทรัพย์) xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx

  4. สร้างสินทรัพย์ขึ้นใช้เองสร้างสินทรัพย์ขึ้นใช้เอง บันทึกด้วยราคาทุน ต้นทุนทางตรงที่เกี่ยวข้องกับการสร้างสินทรัพย์ บวก ต้นทุนทางอ้อมที่สามารถปันส่วนให้แก่สินทรัพย์ที่สร้าง ต้นทุนในการจัดหาเงิน Dr...............ระหว่างก่อสร้าง xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Dr...............(ประเภทสินทรัพย์) xx Cr.........ระหว่างก่อสร้าง xx

  5. การก่อสร้างเกิดความล่าช้าการก่อสร้างเกิดความล่าช้า 1. ต้นทุนการกู้ยืมที่เกิดขึ้นในช่วงที่เกิดความล่าช้า รวมเป็นราคาทุนของสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง Dr.......ระหว่างก่อสร้าง (ประเภทสินทรัพย์) xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx 2. ค่าปรับที่ได้รับหักออกจากราคาทุนของสินทรัพย์ระหว่างก่อสร้าง Dr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Cr........ระหว่างก่อสร้าง (ประเภทสินทรัพย์) xx

  6. สินทรัพย์สร้างเสร็จ/พร้อมใช้งานสินทรัพย์สร้างเสร็จ/พร้อมใช้งาน • ยังคงต้องจ่ายดอกเบี้ยเงินกู้ต่อไป ต้นทุนการกู้ยืมที่เกิดขึ้น • ถือเป็นค่าใช้จ่าย Dr.ดอกเบี้ยจ่ายเพื่อสร้างสินทรัพย์ xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx สร้างสินทรัพย์ผิดสัญญา  ค่าปรับที่ได้รับหลังจากสินทรัพย์สร้างเสร็จ และพร้อมใช้งาน Dr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Cr.รายได้ค่าปรับจากการผิดสัญญาก่อสร้าง xx

  7. การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ประเภทเดียวกัน/คล้ายคลึงกัน 1 2 การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ต่างประเภท/ไม่คล้ายคลึงกัน บันทึกราคาทุนของสินทรัพย์ที่ได้มาด้วยมูลค่ายุติธรรมของสินทรัพย์ที่นำไปแลก ปรับปรุงด้วยจำนวนเงินที่ต้องจ่ายเพิ่ม/รับคืนอันเนื่องมาจากการแลกเปลี่ยน รับรู้ผลกำไร/ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ ลักษณะและประโยชน์ใช้สอยแตกต่างกัน 7

  8. การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์การแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ Dr. เงินสด (กรณีได้รับเงินคืน) xx สินทรัพย์(ใหม่) xx ค่าเสื่อมราคาสะสม - (สินทรัพย์เดิม) xx ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ xx (กรณีมีผลขาดทุน) Cr. เงินสด (กรณีจ่ายเงินเพิ่ม) xx สินทรัพย์ (เก่า) xx กำไรจากการแลกเปลี่ยนสินทรัพย์ xx (กรณีมีผลกำไร) 8

  9. รายจ่ายภายหลังการได้มาซึ่งสินทรัพย์รายจ่ายภายหลังการได้มาซึ่งสินทรัพย์  ก่อประโยชน์แก่สหกรณ์หลายงวดระยะเวลาบัญชี  ประโยชน์จากการใช้สินทรัพย์เพิ่มขึ้นจากเดิม  สินทรัพย์มีสภาพดีขึ้นเมื่อเทียบกับมาตรฐานการใช้งานเดิม รายจ่ายที่เป็นทุน = มูลค่าเพิ่มขึ้น Dr. สินทรัพย์/ค่าเสื่อมราคาสะสม - .......... xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx

  10. ตัวอย่าง อาคาร 1,000,000.- บาท ประมาณว่าใช้ได้ 20 ปี หักค่าเสื่อมราคาปีละ 50,000.- บาท ใช้ไป 15 ปี 1 ม.ค.53 ต่อเติม ปรับปรุง ซ่อมแซม ให้มีสภาพดีขึ้นจ่ายเงินไป 200,000.- บาท Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-อาคาร 200,000.- Cr. เงินสด 200,000.-

  11. รายจ่ายที่เป็นค่าใช้จ่ายรายจ่ายที่เป็นค่าใช้จ่าย  รักษาสภาพมาตรฐานการใช้งานเดิมไว้  ไม่เพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน  จำนวนเงินไม่มาก และเกิดขึ้นสม่ำเสมอทุกงวด  รายจ่ายในการบำรุงรักษา/ซ่อมแซมตามปกติ Dr. ........... (ประเภทค่าใช้จ่าย) xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx

  12. ตัวอย่าง เครื่องจักร 1,000,000.- บาท ประมาณว่าใช้ได้ 10 ปี ใช้ไป 8 ปี ซ่อมแซมบำรุงรักษาเครื่องจักร เพื่อให้สามารถใช้ได้ต่อไปเป็นเงิน 20,000 บาท ถือเป็นค่าใช้จ่าย Dr. ค่าบำรุงรักษาเครื่องจักร 20,000.- Cr. เงินสด 20,000.-

  13.  ตีราคา ตามราคาตลาด โดยผู้ประเมินราคาอิสระ  ต้องตีราคาทุกรายการที่จัดอยู่ในประเภทเดียวกัน  ระยะเวลา ตีราคาใหม่แต่ละครั้งไม่ต่ำกว่า 5 ปี บัญชีส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ ส่วนทุนของสหกรณ์ บัญชีกำไร / ขาดทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ รายได้ หรือค่าใช้จ่าย การตีราคาสินทรัพย์ใหม่ ปรับราคาตามบัญชีสุทธิ (สินทรัพย์/ค่าเสื่อมราคาสะสม) = มูลค่ายุติธรรม ณ วันสิ้นปี - คำนวณค่าเสื่อมราคาตามราคาที่ตีใหม่ - โอนส่วนเกินทุนฯ ที่ถือว่าเกิดขึ้นแล้วเข้าทุนสำรอง 13

  14. ตัวอย่าง การตีราคาสินทรัพย์ใหม่ - ประเภทไม่ต้องคิดค่าเสื่อมราคา ที่ดิน - ราคาเมื่อซื้อ 60,000 บาท ตีราคาใหม่ในปีปัจจุบัน 100,000 บาท Dr. ที่ดิน 40,000 Cr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน 40,000 ส่วนเกินฯ - แสดงรายการในส่วนทุนของสหกรณ์ ต่อมามีการตีราคาที่ดินใหม่ เหลือ 50,000 บาท Dr.ส่วนเกินทุนจากการตีราคาที่ดิน 40,000 ขาดทุนจากการตีราคาที่ดิน 10,000 Cr.ที่ดิน 50,000 14

  15. ตัวอย่าง การตีราคาสินทรัพย์ใหม่ - ประเภทต้องคิดค่าเสื่อมราคา อาคารมีราคาทุน 1,200,000 บาท อายุใช้งาน 10 ปี ใช้มา 2 ปี ตีราคาใหม่ 1,000,000 บาท อาคาร 1,200,000 ค่าเสื่อมราคาสะสม 240,000(1,200,000 x 2/10) ราคาตามบัญชีสุทธิ 960,000 ราคาที่ตีใหม่ 1,000,000(มูลค่ายุติธรรมเป็นเกณฑ์) ส่วนเกินทุนฯ 40,000 Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม 40,000 Cr. ส่วนเกินทุนจากการตีราคาอาคารเพิ่ม 40,000 15

  16. ค่าเสื่อมราคาตามราคาสินทรัพย์ใหม่ = 125,000 ค่าเสื่อมราคาตามราคาสินทรัพย์เดิม = 120,000 5,000 ณ วันสิ้นปีคิดค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคา = 1,000,000/8 = 125,000 Dr. ค่าเสื่อมราคา - อาคาร 125,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม - อาคาร 125,000 ส่วนเกินทุนฯ ที่ถือเป็นรายการที่เกิดขึ้นแล้ว Dr. ส่วนเกินทุนฯ 5,000 Cr. ทุนสำรอง 5,000 16

  17.  บันทึกมูลค่าที่ดิน ด้วยมูลค่ายุติธรรม (ราคาประเมินโดยสำนักงานที่ดิน)  โอนปิดบัญชีที่เกี่ยวข้องกับเงินค้างชำระทั้งหมด ที่ดินได้รับแทนการชำระหนี้ ราคาประเมิน สูงกว่า จำนวนเงินค้างชำระ ผลต่าง “เงินรอจ่ายคืน”  ราคาประเมิน ต่ำกว่า จำนวนเงินค้างชำระ หนี้ค้างส่วนที่เหลือ - เรียกเก็บจากลูกหนี้ต่อไป - ถ้าไม่สามารถเรียกเก็บได้ ให้ประมาณการค่าเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญเต็มจำนวน 17

  18. ค่าเสื่อมราคาอาคารและอุปกรณ์ค่าเสื่อมราคาอาคารและอุปกรณ์ สิ้นปีบัญชี สหกรณ์คำนวณค่าเสื่อมราคาอาคารและอุปกรณ์ ให้สอดคล้องกับสภาพการใช้งาน และใกล้เคียงความเป็นจริงตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดไว้ในระเบียบนายทะเบียนสหกรณ์ คำนวณค่าเสื่อมราคาอาคารและอุปกรณ์ได้ 2 วิธี + วิธีเส้นตรง + วิธีอัตราลดลงตามผลรวมจำนวนปี 18

  19. วิธีเส้นตรง - อัตราค่าเสื่อมราคา อาคารถาวร ฉาง เครื่องสีข้าว ร้อยละ 5 - 10 เรือข้าว ร้อยละ 5 - 15 เรือยนต์และอุปกรณ์เรือ ร้อยละ 10 - 15 อุปกรณ์ฉาง เครื่องจักร เครื่องยนต์ ครุภัณฑ์ และอุปกรณ์สำนักงาน ร้อยละ 10 - 20 รถยนต์ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ ร้อยละ 20 - 25

  20. วิธีอัตราลดลงตามผลรวมจำนวนปีวิธีอัตราลดลงตามผลรวมจำนวนปี ใช้กับอาคารและอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพการใช้งานสูงในระยะแรก และประโยชน์ที่ให้ในระยะหลังไม่แน่นอน หรือใช้งานไปนานอาจเกิดค่าซ่อมแซมมาก โดยประมาณอายุการใช้งานของอาคารและอุปกรณ์ แล้วคำนวณอัตราส่วนการใช้งานของแต่ละปี ระยะเวลาตัดจำหน่าย ต้องไม่เกินกว่าวิธีเส้นตรง

  21. วิธีการคำนวณค่าเสื่อมราคาวิธีการคำนวณค่าเสื่อมราคา หาผลรวมของอายุการใช้งาน โดยนำอายุการใช้งานที่มีอยู่ในปีแรกบวก อายุการใช้งานที่เหลืออยู่ในปีต่อ ๆ ไปทุกปี เป็นตัวส่วน อายุการใช้งานที่เหลืออยู่ของแต่ละปี เป็นตัวเศษ แล้วคูณด้วยราคาทุนของอาคารและอุปกรณ์ ดังนี้ อายุการใช้งานที่เหลือของแต่ละปี X ราคาทุนของอาคารและอุปกรณ์ ผลรวมของอายุการใช้งาน

  22. ตัวอย่าง สหกรณ์ซื้อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ (1 ก.ค. X0) ราคา 45,000.- บาท ประมาณว่าใช้งานได้ 5 ปี สิ้นปีบัญชี 31 มี.ค. X1 คำนวณค่าเสื่อมราคาปีที่ 1 = 5 x 45,000 5 + 4 + 3 +2 +1 = 5 x 45,000 = 15,000 บาท 15 Dr. ค่าเสื่อมราคาเครื่องคอมพิวเตอร์ 15,000.- Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสมเครื่องคอมพิวเตอร์ 15,000.-

  23. คำนวณค่าเสื่อมราคาปีที่ 2 = 4 x 45,000 15 = 12,000 บาท คำนวณค่าเสื่อมราคาปีที่ 3 ตัวเศษเปลี่ยนเป็น 3 คำนวณค่าเสื่อมราคาปีที่ 4 ตัวเศษเปลี่ยนเป็น 2 คำนวณค่าเสื่อมราคาปีที่ 5 ตัวเศษเปลี่ยนเป็น 1

  24. กรณีมีรายจ่ายที่ทำให้มูลค่าสินทรัพย์เพิ่มขึ้นกรณีมีรายจ่ายที่ทำให้มูลค่าสินทรัพย์เพิ่มขึ้น การคิดค่าเสื่อมราคา ไม่เพิ่มอายุการใช้งาน > คำนวณค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ส่วนที่ปรับปรุง ตามอายุการใช้งานคงเหลือของสินทรัพย์เดิม เพิ่มอายุการใช้งาน > คำนวณค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ ตามอายุการใช้งาน คงเหลือที่เปลี่ยนไป 24

  25. ตัวอย่าง อาคารมูลค่า 1,000,000 บาท อายุการใช้งาน 20 ปี ใช้งานมาแล้ว 15 ปี 1 ม.ค. 53 จ่ายเงินปรับปรุงอาคารให้มีสภาพดีขึ้น 200,000 บาท โดยอายุการใช้งานเท่าเดิม Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม-อาคาร 200,000 Cr. เงินสด 200,000  Dr. ค่าเสื่อมราคา - อาคาร 90,000 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม - อาคาร 90,000 ค่าเสื่อมราคา (เดิม) = 1,000,000/20 = 50,000 ค่าเสื่อมราคา (ส่วนที่ปรับปรุง) = 200,000/5 = 40,000 ราคาตามบัญชีก่อนปรับปรุง = 250,000 ราคาทุนส่วนที่ปรับปรุง = 200,000 90,000 450,000/5 = 90,000 25

  26. ตัวอย่าง ซื้อเครื่องจักร 60,000 บาท อายุการใช้งาน 10 ปี ใช้งานมาแล้ว 5 ปี 1 ม.ค. 53 จ่ายเงินปรับปรุงเครื่องจักรให้มีสภาพดีขึ้น 8,000 บาท ทำให้ใช้งานต่อไปได้อีก 8 ปี Dr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 8,000 Cr. เงินสด 8,000 Dr. ค่าเสื่อมราคา – เครื่องจักร 4,750 Cr. ค่าเสื่อมราคาสะสม – เครื่องจักร 4,750 ราคาตามบัญชีหลังปรับปรุง =60,000 – (60,000/10 x 5) + 8,000= 38,000 ค่าเสื่อมราคาปีละ = 38,000 / 8 = 4,750 26

  27. + วิธีเส้นตรง ถ้าใช้งานไม่เต็มปีให้คำนวณค่าเสื่อมราคาเป็นวัน นับจากวันที่อาคารและอุปกรณ์พร้อมใช้งาน (1 ปี 365 วัน) + วิธีอัตราลดลงตามผลรวมจำนวนปี แม้ว่าจะใช้งานไม่เต็มปี ให้คำนวณค่าเสื่อมราคาเต็มปี + เลือกใช้วิธีใดแล้ว ต้องใช้วิธีนั้นอย่างสม่ำเสมอตลอดอายุการใช้งาน + เมื่อคิดค่าเสื่อมราคาถึงงวดสุดท้ายแล้ว ให้คงเหลือมูลค่าไว้ 1 บาทต่อหน่วย จนกว่าจะสิ้นสภาพ หรือตัดบัญชีได้ + หมดอายุการใช้งานแล้ว เมื่อชำรุด สิ้นสภาพ ให้ตัดจำหน่ายออกจาก บัญชีในปีที่สิ้นสภาพ โดยบันทึกไว้ในบัญชีค่าเสื่อมราคา

  28. คำแนะนำนายทะเบียนสหกรณ์ เรื่อง วิธีปฏิบัติทางบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์ไม่มีตัวตน พ.ศ. 2547

  29. สินทรัพย์ประเภทที่ไม่อาจแลเห็น และจับต้องไม่ได้ มีลักษณะเป็นสิทธิต่าง ๆ ตามที่กฎหมายกำหนด สินทรัพย์ไม่มีตัวตน การวัดมูลค่าเริ่มแรก บันทึกด้วยราคาทุน ราคาซื้อ xx บวก ภาษี , รายจ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องโดยตรง xx หัก ส่วนลดการค้า , ภาษีที่ได้รับคืน xx ราคาทุน xx

  30. 1. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์จำกัด ให้ตัดจ่ายโดยวิธีเส้นตรงตามระยะเวลาการให้ประโยชน์ + ตามอายุการให้ประโยชน์ที่จำกัด + อายุการให้ประโยชน์น้อยกว่าอายุสิทธิตามกฎหมาย ตัดจ่ายตามอายุการให้ประโยชน์ที่แท้จริง + อายุการให้ประโยชน์ไม่เต็มปีตัดจ่ายเป็นวัน นับจากวันที่ พร้อมที่จะใช้ประโยชน์ได้ (1 ปี มี 365 วัน) + สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่เกี่ยวกับอาคารและอุปกรณ์ ตัดจ่ายไม่น้อยกว่าจำนวนที่คำนวณจากอัตราค่าเสื่อมราคา + ตัดจ่ายจนหมดมูลค่าทางบัญชีในปีสุดท้ายของอายุการ ให้ประโยชน์ แม้ว่าจะยังใช้ประโยชน์ได้ต่อไป

  31. 2. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนที่มีอายุการให้ประโยชน์ไม่จำกัด ให้ตัดจ่ายไม่น้อยกว่าจำนวนที่คำนวณจากอัตราค่าเสื่อมราคา อาคารและอุปกรณ์ โดยตัดจ่ายไม่เกิน 20 ปี 3. สินทรัพย์ไม่มีตัวตนประเภทโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ให้ตัดจ่ายตามอายุการใช้งาน แต่ต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 - 25 ของราคาทุนของโปรแกรมคอมพิวเตอร์นั้น 4. ให้ตัดจ่ายโดยตรงกับสินทรัพย์ไม่มีตัวตนนั้น และบันทึกค่าตัดจ่ายไว้ในทะเบียนสินทรัพย์ถาวรด้วย

  32. โปรแกรมคอมพิวเตอร์ กรณีได้มาพร้อมกับซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ ถือเป็นสินทรัพย์ กรณีได้มาหลังจากใช้เครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว ถือเป็นสินทรัพย์ไม่มีตัวตน การได้มา 1. ซื้อโปรแกรมสำเร็จรูป บันทึกมูลค่าเริ่มแรกด้วยราคาทุน Dr.สิทธิการใช้ซอฟท์แวร์ xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx

  33. 2. ว่าจ้างให้ผู้อื่นพัฒนา / สหกรณ์พัฒนาเอง บันทึกด้วยค่าใช้จ่ายที่จ่ายไป Dr.ซอฟท์แวร์ระหว่างพัฒนา xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Dr.ซอฟท์แวร์ xx Cr.ซอฟท์แวร์ระหว่างพัฒนา xx โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นเอง และใช้งานได้ระยะหนึ่ง ภายหลังนำมาพัฒนาต่อเพื่อให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ให้บันทึกเป็น ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาโปรแกรม

  34. การตัดจ่าย • ตามระยะเวลาของอายุการใช้งาน • ตามการเปลี่ยนแปลงการใช้ซอฟท์แวร์ใหม่ • ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20 - 25 ของราคาทุน • ตัดจ่ายโดยตรงกับสินทรัพย์ไม่มีตัวตนนั้น Dr. ค่าตัดจ่ายสิทธิการใช้ซอฟท์แวร์/ ค่าตัดจ่ายซอฟท์แวร์ xx Cr.สิทธิการใช้ซอฟท์แวร์/ซอฟท์แวร์ xx

  35. สิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดินสิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดิน สิทธิการครอบครองและใช้ประโยชน์จากที่ดิน โดยไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน การได้มา บันทึกราคาทุน = จำนวนเงินที่จ่าย + ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ 1. นำที่ดินมาใช้ในการดำเนินงาน Dr.สิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดิน xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx 2. ยังไม่ได้นำที่ดินมาใช้ในการดำเนินงาน Dr.สิทธิครอบครองที่ดินรอการใช้ประโยชน์ xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx

  36. การตัดจ่าย • การใช้สิทธิ์มีอายุจำกัด ตัดจ่ายตามอายุสิทธิ์ที่ได้รับ • การใช้สิทธิ์มีอายุไม่จำกัด ตัดจ่ายไม่เกิน 20 ปี • ตัดจ่ายโดยตรงกับสิทธิ์ จนกว่าจะหมดมูลค่าทางบัญชี Dr.ค่าตัดจ่ายสิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดิน xx Cr.สิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดิน xx ตัดจ่ายสิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดินได้ระยะหนึ่ง ภายหลังมีการจ่ายเงินเพื่อพัฒนาที่ดินเพิ่มเติม บันทึกเป็น ค่าใช้จ่ายในการพัฒนาที่ดิน (ไม่มีนัยสำคัญ) บันทึกเป็น สิทธิการใช้ประโยชน์ในที่ดิน (มีนัยสำคัญ)

  37. สิทธิการใช้ประโยชน์ในอาคารและสิ่งปลูกสร้างสิทธิการใช้ประโยชน์ในอาคารและสิ่งปลูกสร้าง สิทธิการใช้สินทรัพย์ที่สหกรณ์สร้าง/พัฒนาปรับปรุง บนที่ดินที่สหกรณ์ไม่ได้เป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ การได้มา บันทึกราคาทุน = จำนวนเงินที่จ่าย + ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ 1. สิ้นสุดสัญญาอาคาร/สิ่งปลูกสร้างเป็นของเจ้าของที่ดิน Dr.สิทธิการใช้ประโยชน์ใน............ระหว่างก่อสร้าง xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Dr.สิทธิการใช้ประโยชน์ใน............... xx Cr.สิทธิการใช้ประโยชน์ใน.......ระหว่างก่อสร้าง xx

  38. 2. สิ้นสุดสัญญาอาคาร/สิ่งปลูกสร้างเป็นของสหกรณ์ สามารถรื้อถอนไปได้ Dr.อาคาร/สิ่งปลูกสร้างระหว่างก่อสร้าง xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Dr.อาคาร/สิ่งปลูกสร้าง xx Cr.อาคาร/สิ่งปลูกสร้างระหว่างก่อสร้าง xx 3. สหกรณ์เช่าอาคาร/สิ่งปลูกสร้าง Dr.สิทธิการเช่า.............. xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx Dr.ค่าเช่า...................... xx Cr.เงินสด/เงินฝากธนาคาร xx

  39. การตัดจ่าย • การใช้สิทธิ์มีอายุจำกัด ตัดจ่ายตามอายุสิทธิ์ที่ได้รับ • การใช้สิทธิ์มีอายุไม่จำกัด ตัดจ่ายตามอายุการใช้งานของสินทรัพย์ • ตัดจ่ายโดยตรงกับสิทธิ์ จนกว่าจะหมดมูลค่าทางบัญชี Dr. ค่าตัดจ่ายสิทธิการใช้ประโยชน์ใน......... / ค่าตัดจ่ายสิทธิการเช่า......... xx Cr.สิทธิการใช้ประโยชน์ใน............... / สิทธิการเช่า.............. xx

  40. ตัวอย่าง สร้างอาคารบนที่ราชพัสดุ 2,000,000 บาท ได้รับสิทธิการใช้ประโยชน์ 20 ปี ตั้งแต่ 1 ม.ค. 53 การตัดจ่าย 31 ธค. 53 Dr. ค่าตัดจ่ายสิทธิการใช้ประโยชน์ในอาคาร 100,000 Cr. สิทธิการใช้ประโยชน์ในอาคาร 100,000 40

More Related