1 / 35

สิทธิพลเมือง และ อารยะขัดขืน Civil Rights and Civil Disobedience)

สิทธิพลเมือง และ อารยะขัดขืน Civil Rights and Civil Disobedience). การกระทำเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง. การประท้วงในสหรัฐ ฯ. อารยะขัดขืน. การปฏิเสธที่จะปฏิบัติตามกฎหมายโดยมีเหตุผลว่าขัดต่อศีลธรรมในตัวของมันเองหรือไม่มีความยุติธรรม อารยะขัดขืนจึงเป็นการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย

hanne
Télécharger la présentation

สิทธิพลเมือง และ อารยะขัดขืน Civil Rights and Civil Disobedience)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สิทธิพลเมืองและอารยะขัดขืนCivil Rights and Civil Disobedience) การกระทำเพื่อการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง

  2. การประท้วงในสหรัฐ ฯ

  3. อารยะขัดขืน • การปฏิเสธที่จะปฏิบัติตามกฎหมายโดยมีเหตุผลว่าขัดต่อศีลธรรมในตัวของมันเองหรือไม่มีความยุติธรรม อารยะขัดขืนจึงเป็นการไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย • อารยะขัดขืนเป็นการเรียกร้องความยุติธรรม เพื่อให้มีการพิจารณาทบทวนหรือเปลี่ยนแปลงนโยบาย • มีเป้าหมายเพื่อให้สังคมได้ทราบประเด็นปัญหา และแสดงให้สังคมเห็นความอยุติธรรม อารยะขัดขืนต้องกระทำโดยเปิดเผยต่อสาธารณะ

  4. การประท้วงในอียิปต์ (Egypt)

  5. การประท้วงในอียิปต์

  6. การประท้วงในเยเมน (Yemen)

  7. ที่มาของความคิด • เฮนรี เดวิด ธอโร (Henry David Thoreau) ชาวอเมริกัน • ถูกจับ และขังในปี ค.ศ.1840s เนื่องจากปฏิเสธที่จะเสียภาษีเพื่อนำไปทำสงครากับเม็กซิโกและการขยายระยะเวลาการมีทาสแต่เขายินดีเสียภาษีอื่น ๆ • เป็นผู้เรียกการต่อต้านรัฐบาลว่า “civil disobedience” เป็นครั้งแรกในบทความที่เขาเขียนต่อต้านระบบทาสโดยไม่ใช้ความรุนแรง

  8. อารยะขัดขืนของธอโร (Thoreau) เหตุผลหลัก: • เราจำเป็นต้องต่อต้านกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม เขาสนับสนุนให้ต่อต้านคัดค้านรัฐบาล “ข้าพเจ้าไม่ยินยอมกระทำในสิ่งผิดซึ่งข้าพเจ้าประณาม" • ช่องทางในการยกเลิกกฎหมายตามวิธีปกติไม่มีหรือใช้ระยะเวลานานเกินไป • อารยะขัดขืนจะมีประสิทธิภาพ ถ้าผู้ต้องการยกเลิกกฎหมายไม่สนับสนุนรัฐบาลซึ่งจะทำให้ระบบทาสยุติลงโดยการปฏิวัติแบบสันติวิธี.

  9. อารยะขัดขืนของธอโร • ลงคะแนนเสียงของท่านทั้งหมดไม่ใช่เพียงบัตรลงคะแนน • ใช้อิทธิพลทั้งหมดที่มี • การใช้เสียงข้างน้อยย่อมไม่มีพลังเพียงพอ • ในขณะที่ใช้เสียงข้างมากต่อต้าน ย่อมเปรียบเสมือนกับการใช้น้ำหนักทั้งหมดเข้าไปขัดวงล้อ

  10. ที่มาของความคิด • มะหาตะมะคานธี (Mohandas (Mahatma) Gandhi) • เป็นผู้นำอินเดียต่อสู้เรียกร้องเอกราชจากอังกฤษตั้งแต่ ค.ศ. 1915 จนสิ้นชีวิตในปี ค.ศ. 1948. • สนับสนุนการไม่ใช้ความรุนแรงในกรต่อสู้ เรียกว่าSatyagraha, หมายถึง “การยึดมั่นในสัจจะ” • การไม่ใช้ความรุนแรงเป็นหลักการมิใช่กลยุทธ์ • ความกล้าหาญระเบียบวินัยและความเข้มแข็ง เป็นส่วนสำคัญ • ยอมรับความเป็นเอกภาพของสรรพสิ่งที่มีชีวิตต่าง ๆ

  11. สัตยาคฤห (Satyagraha) ของคานธี • มีลักษณะแตกต่างจากการต่อต้านอย่างสงบอันเป็นอาวุธของคนอ่อนแอมิได้อยู่ในระดับเดียวกับการมีระเบียบวินัยและความกล้าหาญที่จำเป็นสำหรับ Satyagraha ดังนั้นจึงอาจมีความรุนแรงเกิดขึ้นได้ การต่อต้านโดยสงบไม่จำเป็นต้องยึดติดกับความจริงทั้งหมด

  12. สัตยาคฤหของคานธี • ถ้าการไม่ใช้ความรุนแรงเป็นองค์ประกอบสำคัญ ผู้ต่อต้านจะชนะได้อย่างไร เขาจะใช้พลังประเภทใดได้บ้าง

  13. สัตยาคฤหของคานธี • คานธีเรียกว่า ”พลังแห่งความรัก” หรือ “พลังทางด้านจิตวิญญาณ” (อหิงสา)มีความมุ่งมั่นเด็ดเดี่ยวแต่อ่อนโยนและมีสัจจะในการติดต่อกับมิตรสหายและศัตรู เพื่อนบ้านและผู้ปกครอง • ไม่เพียงแต่เป็นอาวุธที่เลือกใช้เพื่อบรรลุเป้าหมายการเปลี่ยนแปลงเท่านั้นแต่เป็นทัศนคติที่ใช้ตลอดชีวิตของตน

  14. สัตยาคฤหของคานธี • คานธีกล่าวแก่บุคคลอื่น ซึ่งเตือนให้เห็นถึงภัยคุกคามจากลัทธิอนาธิปไตยว่าอย่างไร

  15. สัตยาคฤหของคานธี • อารยะขัดขืนเป็นสิทธิขั้นพ้นฐานของประชาชน และจะไม่เกิดลัทธิอนาธิปไตย ไม่เหมือนกับการประกอบอาชญากรรม (อาชญาขัดขืน)ซึ่งรัฐจะต้องปราบปรามโดยใช้กำลัง • สาวกของ Satyagraha “เคารพกฎหมายของบ้านเมืองด้วยสติปัญญา และเจตจำนงอิสระของตนเองเพราะเห็นว่าเป็นหน้าที่อันศักดิ์สิทธิ์ที่จะต้องกระทำ เขาเป็นผู้ใช้วิจารณญาณของตนว่ากฎหมายไม่เป็นธรรมหรือเป็นธรรม และจะต่อต้านกฎหมายที่ไม่เป็นธรรมในสถานการณ์ที่เหมาะสม

  16. สัตยาคฤหของคานธี • ข้อแตกต่างระหว่างอาชญาขัดขืน และอารยะขัดขืน • อาชญาขัดขืนเป็นการฝ่าฝืนกฎหมายที่กระทำอย่างลับ ๆ และผู้กระทำจะพยามหลีกเลี่ยงมิให้ถูกลงโทษ • อารยะขัดขืนเป็นผู้เคารพกฎหมายของสังคมมิใช่เพราะความกลัวแต่เป็นเพราะเห็นว่าเป็นผลดีต่อสวัสดิภาพของสังคม • ในกรณีที่เห็นว่ากฎหมายไม่เป็นธรรมจึงจำเป็นจะต้องฝ่าฝืนกฎหมายนั้นอย่างเปิดเผย อย่างผู้มีอารยะและยอมรับโทษทัณฑ์โดยสงบ

  17. สัตยาคฤหของคานธี • หลักการของคานธีมีที่มาจากแหล่งต่าง ๆ รวมทั้งคำสอนของพระเยซู งานนิพนธ์ของ ธอโร ชาวอเมริกัน ลีโอ ตอลสตอย นักคิดและนักเขียนชาวรัสเซีย • เขาได้นำความคิดเหล่านี้มาประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติเพื่อให้ได้ผลทั้งทางการเมืองและสังคม • นอกจากนี้เขายังมีอิทธิพลต่อความคิดของมาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์

  18. การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตร

  19. การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตร

  20. การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรการชุมนุมของกลุ่มพันธมิตร

  21. การประท้วงโดยชอบด้วยกฎหมายกับอารยะขัดขืน • การประท้วงที่ผิดกฎหมายโดยไม่ใช้ความรุนแรงเท่านั้นจึงเป็นอารยะขัดขืน • การประท้วงหรือการกระทำที่ไม่ฝ่าฝืนกฎหมายไม่ใช่อารยะขัดขืน • ตัวอย่าง • การต่อต้านสินค้าต่างประเทศ • การต่อต้านมลพิษ • การต่อต้านสงคราม

  22. การประท้วงโดยใช้ความรุนแรงกับอารยะขัดขืนการประท้วงโดยใช้ความรุนแรงกับอารยะขัดขืน • การประท้วงโดยไม่ใช้ความรุนแรงเท่านั้นจึงเป็นอารยะขัดขืน • การใช้ความรุนแรงไม่ใช่อารยะขัดขืน แม้ว่าจะเป็นการต่อสู้กับความ อยุติธรรม หรือกฎหมายที่ขัดศีลธรรม

  23. ความยุติธรรมและความรุนแรงความยุติธรรมและความรุนแรง • ฝ่ายปฏิบัติการบางคนอ้างเหตุผลว่าความไม่ยุติธรรมฝังรากลึกอยู่ในระบบเกินกว่าจะเยียวยาได้ จึงมีหนทางเดียวเท่านั้นที่ทำได้คือการรื้อทั้งระบบ • การใช้ความรุนแรงจึงเป็นอาวุธที่ใช้เป็นเครื่องมือนำไปสู่การเปลี่ยนแปลง ไม่ใช่อาวุธที่ดีที่สุดแต่ในบางครั้งอาจจำเป็นจุต้องใช้

  24. ความยุติธรรมและความรุนแรงความยุติธรรมและความรุนแรง • แนวทางนี้เป็นความเห็นของ Malcolm X และผู้ต่อสู้เพื่อสิทธิพลเมืองบางคนในสหรัฐฯ ที่สนับสนุนการปฏิวัติของคนผิวดำ (Black revolution) Malcolm X เป็นผู้นำชาตินิยมคนผิวดำในสหรัฐอเมริกา และเป็นนักต่อสู้เพื่อสิทธิพลเมือง ในช่วงปลายทศวรรษที่ 1950s และทศวรรษ 1960s.

  25. Martin Luther King Jr.-Malcolm X

  26. สิทธิพลเมืองทั่วโลก (Civil Rights Globally) • การเลือกปฏิบัติที่แท้จริงและรับรู้กันเป็นส่วนใหญ่ของโลกเกี่ยวข้องกับ เชื้อชาติเผ่าพันธุ์ สัญชาติ ศาสนาหรือเพศ • การมีอคติทางศาสนาต่อชาวยิวมีลักษณะรุนแรงถึงขนาดเรียกว่าการต่อต้านชาวยิว (anti-Semitism) • ประเทศที่มีประสบการณ์การก่อความไม่สงบ เพราะการปฏิบัติที่ไม่เท่าเทียมกันของกลุ่มต่าง ๆ ได้แก่ Sudan, Nepal, Iraq, Ireland, Egypt, Israel, Indonesia

  27. อารยะขัดขืน การปฏิวัติ การก่อการร้าย • บางครั้งประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับอารยะขัดขืน (civil disobedience) มีลักษณะเป็นพวกปฏิวัติหรือผู้ก่อการร้าย • ลักษณะที่เหมือนกัน 1. ต้องการโฆษณาประชาสัมพันธ์เพื่อให้เป็นข่าวหรือเป็นประเด็น 2. ต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลง ข้อแตกต่างคืออะไร

  28. การปฏิวัติ (Revolution) การปฏิวัติหมายถึงการเปลี่ยนแปลงถึงขั้นรากฐาน ไม่เพียงทางการเมือง แต่ทางสังคมและเศรษฐกิจด้วย อาจมีการใช้ความรุนแรง โดยมีเป้าหมายที่ตั้งทางทหาร และตำรวจ แต่ไม่ใช้กับพลเรือนผู้ทำการปฏิวัติใช้ความพยายามหลบหนีหรือมิให้ถูกจับกุม และไม่ยอมถูกลงโทษ

  29. การก่อการร้าย (Terrorism) • การก่อการร้ายเป็นการใช้ความรุนแรงทางการเมืองเพื่อทำให้รัฐบาลที่ปกครองประเทศขาดเสถียรภาพ โดยทำให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัวโดยใช้ความรุนแรงไม่เลือกหน้าและสถานที่ทำให้เกิดความกลัว ประชาชนทุกคนอาจถูกกระทำได้ตลอดเวลา • ผู้ก่อการร้ายจะปฏิบัติการอย่างลับ ๆและจะหลีกเลี่ยงจากการถูกจับกุม

  30. การเปรียบเทียบ: ทางด้านเป้าหมาย ก่อการร้าย ปฏิวัติอารยะขัดขืน ------------------------------------------------------------------------------ ทำให้สังคมเกิดความ ล้มรัฐบาลเปลี่ยนแปลงกฎหมายที่ ระส่ำระสาย ไม่เป็นธรรมหรือ ทำให้เกิดความกลัว บัญญัติกฎหมายใหม่ เพื่อผลทางการเมือง

  31. การเปรียบเทียบ: ทางด้านวิธีการ ก่อการร้าย ปฏิวัติ อารยะขัดขืน ---------------------------------------------------------------------------------------------------- ประชาชน ตำรวจและทหารเป็นไม่เชื่อฟังกฎหมายที่ไม่เป็นธรรม เป็นเป้าหมายเป้าหมายเท่านั้นไม่ใช่กฎหมายทั้งหมด ความรุนแรงเป็นสิ่งจำเป็นใช้ความรุนแรงและต้องไม่ใช้ความรุนแรงไม่ใช้ความรุนแรง ปฏิบัติการลับปฏิบัติการลับปฏิบัติการเปิดเผย หลีกเลี่ยงการถูกลงโทษหลีกเลี่ยงการถูกจับยอมรับโทษ

  32. การเปรียบเทียบ: ทัศนะในการรักษาสถานะเดิม ก่อการ้ายปฏิวัติ อารยะขัดขืน ------------------------------------------------------------------------------------- ชั่วร้ายล้มล้าง-ปราบปราม ไม่ยุติธรรม ต้องการทำลาย แทนที่ของเดิม เปลี่ยนใหม่

  33. การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรระหว่าง การชุมนุมของกลุ่มพันธมิตรระหว่าง 25 พ.ค.-9 ต.ค. 51

More Related