1 / 25

ภาวะผู้นำ (Leadership)

ภาวะผู้นำ (Leadership). Management. Leadership. Management versus Leadership. Establishing direction Aligning people Motivating and inspiring. Planning and budgeting Organizing and staffing Controlling and problem solving. (Plunkett et. al., 2005).

Télécharger la présentation

ภาวะผู้นำ (Leadership)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ภาวะผู้นำ(Leadership) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  2. Management Leadership Management versus Leadership Establishing direction Aligning people Motivating and inspiring Planning and budgeting Organizing and staffing Controlling and problem solving (Plunkett et. al., 2005) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  3. ผู้นำ คือ บุคคลที่มีอิทธิพลต่อกลุ่ม และสามารถนำกลุ่มปฏิบัติงานต่างๆเพื่อให้บรรลุเป้าหมายขององค์การ ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  4. ภาวะการเป็นผู้นำของกลุ่มภาวะการเป็นผู้นำของกลุ่ม • ผู้นำของกลุ่มที่เป็นทางการ มาจากการแต่งตั้งจากผู้ที่มีอำนาจหน้าที่ที่สูงกว่า=> มีอำนาจหรืออิทธิพลในการให้รางวัล • ผู้นำของกลุ่มที่ไม่เป็นทางการ เกิดจากการเลือกในลักษณะที่ไม่เป็นทางการของสมาชิกในกลุ่ม => สามารถเข้ากับสมาชิกในกลุ่ม & สามารถตอบสนองความต้องการทางอารมณ์สังคม(Social-emotional needs) (สร้อยตระกูล 2542) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  5. ทฤษฎีภาวะการเป็นผู้นำทฤษฎีภาวะการเป็นผู้นำ 1. ทฤษฎีเกี่ยวกับลักษณะ (Trait Approach) 2. ทฤษฎีทางด้านพฤติกรรม (Behavioral Approach) 3. ทฤษฎีทางด้านสถานการณ์ (Situational Approach) ลักษณะและทักษะของผู้นำ ประสิทธิภาพ พฤติกรรมของผู้นำ ตัวแปรที่เข้าแทรก ประสิทธิภาพ ลักษณะ ทักษะและพฤติกรรมของผู้นำ ประสิทธิภาพ ตัวแปรทางสถานการณ์ ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  6. 1. ทฤษฎีเกี่ยวกับลักษณะ ลักษณะผู้นำที่ดี คือ ทำงานสำเร็จด้วยดีและเป็นที่พอใจของผู้ใต้บังคบบัญชา 1. มีความทะเยอทะยาน (Ambition) 2. มีความอุสาหะพากเพียร (Persistence) 3. มีความกล้าหาญ (Courage) 4. มีความเชื่อถือศรัทธา (Faith) 5.มีความซื่อสัตย์มั่นคง (Integrity) 6.มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ (Creativity) (กรองแก้ว 2542) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  7. 1. ทฤษฎีเกี่ยวกับลักษณะ 7. มีความยุติธรรม (Justice) 8. มีจุดมุ่งหมาย (Objectivity) 9.มีความยืดหยุ่น (Flexibility) 10.มีความสามารถในการตัดสินใจ (Decisiveness) 11. มีวินัยในตนเอง (Self-Discipline) => ความรับผิดชอบ ความรอบครอบ ความนับถือตนเอง ทักษะในการติดต่อสื่อสาร และวุฒิภาวะทางอารมณ์ (กรองแก้ว 2542) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  8. ผู้มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ผู้มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ • มีอารมณ์มั่นคงไม่อ่อนไหวง่าย • อดทนต่อการกระทำและการวิพากษ์วิจารณ์ของผู้อื่น • เข้าใจตนเองและผู้อื่น • ใจกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น • สนใจบุคคลและเหตุการณ์รอบข้าง • ทำงานเป็นทีมได้ดี และมีความพอใจ (กรองแก้ว 2542) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  9. ผู้มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ผู้มีวุฒิภาวะทางอารมณ์ • มีแรงจูงใจในการทำงานสูง • มีความรับผิดชอบและมีวินัย ควบคุมตนเองได้ • มีจุดมุ่งหมายในการทำงาน • ทำงานอย่างไม่เครียด มองโลกในแง่ดี • เป็นห่วงและคำนึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น • ไม่ชอบใช้กลไกในการป้องกันตนเอง (กรองแก้ว 2542) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  10. 2. ทฤษฎีทางด้านพฤติกรรม 2.1 การศึกษาค้นคว้าที่มหาวิทยาลัยไอโอวา 2.2 การศึกษาค้นคว้าที่มหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอ 2.3 ตารางพฤติกรรมการบริหาร(The Managerial Grid) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  11. 2.1 การศึกษาค้นคว้าที่มหาวิทยาลัยไอโอวา • ภาวะการเป็นผู้นำแบบอัตนิยม(Autocratic Leadership) • ภาวะการเป็นผู้นำแบบประชาธิปไตย (Democratic Leadership) • ภาวะการเป็นผู้นำแบบปล่อยเสรี (Laissez-Faire Leadership) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  12. 2.2 การศึกษาค้นคว้าที่มหาวิทยาลัยแห่งรัฐโอไฮโอ ลักษณะของผู้บังคับบัญชาแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ • ลักษณะริเริ่มโครงสร้างการทำงาน • (Initiating Structure) • กำหนดงานให้ทำ • ระบุขั้นตอนการดำเนินงานที่จะต้องปฏิบัติตาม • อธิบายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้าใจอย่างชัดเจนเกี่ยวกับความคาดหวังที่จะเกิดขึ้น • กำหนดหมายกำหนดการทำงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้เข้าใจบทบาทของตนเอง • ลักษณะที่คำนึงถึงผู้อื่น • (Consideration) • อธิบายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเข้าใจถึงบทบาทของตนเอง • ปฏิบัติกับผู้ใต้บังคับบัญชาเท่าเทียมกัน • เป็นมิตรและง่ายต่อการที่ผู้อื่นจะเข้ามาติดต่อด้วย • ปฏิบัติในสิ่งที่ผู้อื่นพอใจ • พยายามทำในสิ่งที่ให้สวัสดิการแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา • บอกล่วงหน้าถึงสิ่งที่กำลังจะเปลี่ยนแปลง ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  13. สูง ลักษณะที่คำนึงถึงผู้อื่นสูงและลักษณะริเริ่มเพื่อให้เกิดโครงสร้างเพื่อการทำงานต่ำ ลักษณะริเริ่มสูงและลักษณะที่คำนึงถึงผู้อื่นสูง ลักษณะที่คำนึงถึงผู้อื่น ลักษณะริเริ่มต่ำ และลักษณะที่คำนึงถึงผู้อื่นต่ำ ลักษณะริเริ่มเพื่อให้เกิดโครงสร้างเพื่อการทำงานสูง และลักษณะที่คำนึงถึงผู้อื่นต่ำ ต่ำ สูง ต่ำ ลักษณะริเริ่ม ภาวะการเป็นผู้นำบนมิติริเริ่มทางโครงสร้างและคิดคำนึงถึงผู้อื่น ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  14. 2.3 ตารางพฤติกรรมการบริหาร พฤติกรรมของผู้นำสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ • มุ่งที่คนงาน (People Oriented) • มุ่งที่ผลผลิต/งาน (Production/Task Oriented) (กรองแก้ว 2542) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  15. Teamwork Relationships Mutual Trust Emphasis of People Orientation (Plunkett et. al., 2005) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  16. Technology Methods Plans Programs Deadlines Getting the work out Goals Emphasis of Task Orientation (Plunkett et. al., 2005) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  17. 2.3 ตารางพฤติกรรมการบริหารRobert R. Blake & Jane S. Mouton ผู้นำที่เน้นความสนใจที่คน 1,9 ผู้นำที่เอาใจใส่ทั้งคนและงาน 9,9 ผู้นำที่เดินสายกลาง 5,5 มุ่งที่พนักงาน ผู้นำที่เน้นความสนใจที่งาน 9,1 ผู้นำที่ไม่สนใจทั้งงานและคน 1,1 มุ่งที่ผลผลิต/งาน ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  18. 3. ทฤษฎีทางด้านสถานการณ์ (Situational Approach) 3.1 ตัวแบบความไม่แน่นอนของเฟรด ฟิดเลอร์ 3.2 ทฤษฎีวิถีทางสู่เป้าประสงค์ (Path-Goal Leadership Theory) 3.3 ทฤษฎีภาวะการเป็นผู้นำตามสถานการณ์ของเฮอร์ซีและเบลนชาร์ด ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  19. 3.1 ตัวแบบความไม่แน่นอนของเฟรด ฟิดเลอร์ • เมื่อสถานการณ์เอื้อต่อการใช้ความเป็นผู้นำ กลุ่มจะตั้งใจทำงานโดยไม่ต้องมีการคะยั้นคะยอมาก • บุคคลแต่ละคนจึงควรทำงานในสถานการณ์ที่เหมาะกับแบบภาวะการเป็นผู้นำของเขา • ต้องเปลี่ยนแปลงสถานการณ์เพื่อให้สอดคล้องกับแบบภาวะการเป็นผู้นำของเขาเอง (สร้อยตระกูล 2542) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  20. 3.1 ตัวแบบความไม่แน่นอนของเฟรด ฟิดเลอร์ ตัวแปรสำคัญที่เป็นตัวกำหนดถึงสถานการณ์ที่เอื้อต่อการใช้ความเป็นผู้นำสำหรับการเป็นผู้นำ คือ 1. สัมพันธภาพระหว่างผู้นำและสมาชิก (leader-member relationships) 2. โครงสร้างของงาน (task structure) 3.อำนาจในตำแหน่งของผู้นำ(leader’s position power) (สร้อยตระกูล 2542) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  21. 3.2 ทฤษฎีวิถีทางสู่เป้าประสงค์ • มีแนวทางมาจากทฤษฎีความคาดหวัง (Expectancy Theory) • ผลกระทบของพฤติกรรมผู้นำที่มีต่อการจูงใจ ความพึงพอใจ การปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา • แบบของภาวะการเป็นผู้นำ 4 แบบ • ภาวะการเป็นผู้นำแบบชี้นำ (directive leadership) • ภาวะการเป็นผู้นำแบบสนับสนุน (supportiveleadership) • ภาวะการเป็นผู้นำแบบมีส่วนร่วม (participative leadership) • ภาวะการเป็นผู้นำแบบมุ่งความสำเร็จ (achievement-oriented leadership) (สร้อยตระกูล 2542) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  22. 3.2 ทฤษฎีวิถีทางสู่เป้าประสงค์ คุณลักษณะของผู้ใต้บังคับบัญชา ที่มาของการควบคุมพฤติกรรม และ/ หรือความสามารถ พฤติกรรม/แบบ ผู้ใต้บังคับ ผลที่ได้ ของผู้นำ บัญชา -ความพึงพอใจ -ความชัดเจนในเป้า -แบบชี้นำ -การรับรู้ หมาย -การจูงใจ -แบบสนับสนุน -ความชัดเจนในบท -แบบมีส่วนร่วม บาท -แบบมุ่งความสำเร็จ -การปฏิบัติงาน คุณลักษณะของสภาพแวดล้อม -ลักษณะงาน -ระบบอำนาจหน้าที่ที่เป็นทางการ -กลุ่มทำงาน ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  23. 3.3 ทฤษฎีภาวการณ์เป็นผู้นำตามสถานการณ์ของเฮอร์ซีและเบลนชาร์ด (The Hersey-Blanchard Life Cycle Theory of Leadership) Leadership concept that hypothesizes that leadership styles should reflect primarily the maturity level of the followers. (Certo, 2003) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  24. Autocratic Participative Free-Rein New Employees Experienced Employees Hersey - Blanchard Life-Cycle Theory (Plunkett et. al., 2005) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

  25. ภาวะผู้นำเป็นผลมาจาก (Leadership is a function of) • ผู้นำ (Leader) • พฤติกรรม • ทักษะ • ความรู้ • ค่านิยม • กลุ่ม (Group) • บรรทัดฐานและค่านิยม • ความสามัคคีของกลุ่ม • ความรู้สึกผูกมัดต่อเป้าหมายของกลุ่ม • ความคาดหวังของสมาชิกในกลุ่ม • ความต้องการของสมาชิกในกลุ่ม • สถานการณ์ (Situation) • ค่านิยมขององค์การ • เทคโนโลยี • กิจกรรมหรืองานที่ต้องทำ • ชนิดต่างๆของงาน (เทพนม เมืองแมน และสวิง สุวรรณ 2540) ผศ. ดร. จรัญญา ปานเจริญ

More Related