490 likes | 641 Vues
เทคโนโลยีสำหรับการพัฒนาสื่อประสม I. โดย ศุภกฤษฏิ์ นิวัฒนากูล สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม. วัตถุประสงค์. เมื่อจบบทเรียนนี้แล้ว นักศึกษาสามารถ ทราบถึงเทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตสื่อประสมได้อย่างถูกต้อง เลือกใช้เทคโนโลยีในการผลิตสื่อประสมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม. เนื้อหา.
E N D
เทคโนโลยีสำหรับการพัฒนาสื่อประสม I โดย ศุภกฤษฏิ์ นิวัฒนากูล สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
วัตถุประสงค์ เมื่อจบบทเรียนนี้แล้ว นักศึกษาสามารถ • ทราบถึงเทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตสื่อประสมได้อย่างถูกต้อง • เลือกใช้เทคโนโลยีในการผลิตสื่อประสมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
เนื้อหา • คอมพิวเตอร์สำหรับการพัฒนาสื่อประสม • ระบบสีของคอมพิวเตอร์ • ประเภทของภาพในงานคอมพิวเตอร์กราฟิก • รูปแบบของไฟล์กราฟิกแบบต่าง ๆ • ซอฟต์แวร์สำหรับการพัฒนาสื่อประสม
คอมพิวเตอร์สำหรับการพัฒนาสื่อประสมคอมพิวเตอร์สำหรับการพัฒนาสื่อประสม • คอมพิวเตอร์กราฟิก • ประวัติโดยย่อของคอมพิวเตอร์กราฟิก • การประยุกต์ใช้งานของคอมพิวเตอร์กราฟิก
คอมพิวเตอร์กราฟิก • เป็นการสร้างและจัดการกับภาพกราฟิกโดยใช้คอมพิวเตอร์ • มีจุดเริ่มต้นมาจากการนำเสนอข้อมูลที่เป็นตัวเลขจำนวนมาก ๆ ให้อยู่ในรูปที่เข้าใจได้ง่ายขึ้น เช่น การใช้แผนภูมิ แผนภาพ เป็นต้น • ปัจจุบันมีการนำไปใช้ในทุก ๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นทางด้านธุรกิจ โรงงานอุตสาหกรรม งานศิลปะ การบันเทิง งานโฆษณา การศึกษา การวิจัย การฝึกอบรม และทางการแพทย์
ประวัติโดยย่อของคอมพิวเตอร์กราฟิกประวัติโดยย่อของคอมพิวเตอร์กราฟิก • ปี 1940 มีการแสดงภาพกราฟิกโดยใช้เครื่องพิมพ์ โดยรูปภาพที่ได้จะเป็นการนำตัวอักษรมาประกอบกัน • ปี 1950 สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาชูเซตส์ (MIT) ได้พัฒนาคอมพิวเตอร์ที่มีหลอดภาพ CRT (Cathode Ray Tube) เป็นส่วนแสดงผลแทนเครื่องพิมพ์ • ปี 1950 ระบบ SAGE ของกองทัพอากาศสหรัฐอเมริกา สามารถแปลงสัญญาณจากเรดาร์ให้เป็นภาพบนจอคอมพิวเตอร์ได้
ปี 1950-1960 มีงานวิจัยเพื่อเป็นต้นแบบเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์กราฟิก มากมาย เช่น • ระบบการวาดเส้นโดยการกำหนดจุดบนจอภาพโดยใช้ปากกาแสง • ระบบการวาดภาพซ้ำในระบบหลอดภาพ CRT • ปี 1968 บริษัท เทคโทรนิกส์ (Tectronix) ผลิตจอภาพแบบเก็บภาพไว้ได้จนกว่าจะต้องการลบ (Storage – Tube CRT) โดยไม่ต้องการหน่วยความจำ และการวาดซ้ำ
การประยุกต์ใช้งานของคอมพิวเตอร์กราฟิกการประยุกต์ใช้งานของคอมพิวเตอร์กราฟิก • การออกแบบ • โปรแกรมจำพวก CAD (Computer-Aided Design) เพื่อช่วยการออกแบบทางวิศวกรรม • การออกแบบวงจรทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ • การออกแบบพาหนะต่าง ๆ • การออกแบบโครงสร้างทางวิศวกรรมโยธา และสถาปัตยกรรม
การแสดงกราฟและแผนภาพ • การนำเสนอข้อมูลเพื่อการบริหาร • การนำเสนอข้อมูลในระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรือ GIS (Geographical Information System) • การสร้างภาพศิลป์ • การวาดรูป • การตกแต่งรูป
การสร้างภาพเคลื่อนไหวการสร้างภาพเคลื่อนไหว • การสร้างภาพยนตร์การ์ตูน ภาพยนตร์นิยายวิทยาศาสตร์ หรือภาพยนตร์ที่ใช้เทคนิคต่าง ๆ • ใช้ในระบบการศึกษา การอบรม การวิจัย และการจำลองการทำงาน เช่น การจำลองการขับเครื่องบิน เป็นต้น • ใช้ในเกม เพื่อเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ
อิมเมจโปรเซสซิง • คือ การแสดงภาพที่เกิดจากการถ่ายรูป หรือจากการสแกนภาพให้ปรากฏบนจอภาพคอมพิวเตอร์ โดยจะมีการแปลงข้อมูลภาพให้อยู่ในรูปดิจิตอล • มีประโยชน์ในการแสดงภาพของวัตถุที่ไม่สามารถเห็นได้โดยตรง เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม เป็นต้น
พิกเซล (Pixel) • คือจุดเล็ก ๆ ที่รวมกันทำให้เกิดเป็นภาพขึ้น • ความหนาแน่นหรือจุดของพิกเซลจะเป็นตัวบอกความละเอียด (Resolution) ของภาพ โดยมีหน่วยเป็น ppi (Pixel Per Inch) • จุดแต่ละจุดหรือพิกเซลสามารถแสดงคุณสมบัติทางสีให้แก่ภาพด้วย • การแสดงผลของเครื่องพิมพ์ จะเป็นการแสดงผลแบบ Raster Devices โดยอาศัยการรวมกันของพิกเซลออกมาเป็นรูป
ระบบสีของคอมพิวเตอร์ • จอคอมพิวเตอร์สร้างสีโดยการเปล่งแสงออกมาจากหลอดภาพโดยตรง และใช้ระบบสี RGB (Red, Green, Blue) ซึ่งทำให้มองดูเป็นธรรมชาติ • ในการพิมพ์ออกมายังเครื่องพิมพ์จะใช้ระบบสี CMYK(Cyan, Magenta, Yellow, Black) จึงต้องมีการแปลงสีจาก RGB ไปเป็น CMYK • ในการแปลงสีจาก RGB ไปเป็น CMYK มีปัญหา คือ การที่สีเปลี่ยนจากสีหนึ่งไปเป็นอีกสีหนึ่ง
โมเดลสี (Color Models) • Bitmap • Indexed Color • Grayscale • RGB Color • Duotone • CMYK Color • Multichannel • Lab Color
Bitmap • เก็บข้อมูลของสี 1 บิตต่อพิกเซล • สามารถแสดงได้เพียงสีขาวและสีดำ ไม่มีการไล่เฉดสี • ได้ไฟล์รูปภาพขนาดเล็ก • เหมาะสำหรับใช้เก็บภาพลายเส้น
Indexed Color • ใช้ตารางในการเทียบสี โดยใช้ข้อมูลจำนวน 8 บิตต่อพิกเซล • สามารถแสดงสีได้สูงสุดเพียง 256 สีต่อพิกเซล • ข้อเสีย มีเลเยอร์ได้เพียงเลเยอร์เดียว ทำให้ภาพขาดรายละเอียด
Grayscale • เป็นโหมดสีสำหรับภาพขาวดำ • สามารถไล่เฉดสีได้ถึง 256 ลำดับ
RGB Color • ใช้สีจำนวน 3 สี คือ ได้แก่ แดง เขียน น้ำเงิน • แต่ละสีจะมีการไล่ลำดับสีได้ถึง 256 ลำดับ • เมื่อรวมกันทั้ง 3 สี จะสามารถแสดงสีได้สูงถึง 16.7 ล้านสี • เหมาะสำหรับใช้ในการตกแต่งสี เพราะสามารถแทนสีได้มาก
Duotone • ใช้สำหรับภาพแบบโมโนโทน ดูโอโทน ไตรโทน ควอดโทน • รูปภาพจะเป็นแบบเกรย์สเกลที่มีสีเพียงแชนแนลเดียว ซึ่งจะมีการแบ่งลำดับสีขนาด 8 บิตต่อพิกเซล
CMYK Color • ใช้สีจำนวน 4 สี คือ ฟ้า บานเย็น เหลือง ดำ • แต่ละสีเก็บข้อมูล 8 บิต • ใช้ในกระบวนการพิมพ์ • ข้อเสีย ไม่สามารถแสดงสีทั้งหมดที่มีในธรรมชาติได้
Multichannel • เก็บข้อมูลสีจำนวน 8 บิตต่อพิกเซล ทำให้มีสีได้สูงสุดเพียง 256 สี • ถูกใช้ในการพิมพ์สีในกรณีพิเศษ
Lab Color • เป็นโหมดสีที่ให้สีเหมือนจริงที่สุด • ใช้ค่า L (Lightness) แทนความสว่างโดยมีค่าตั้งแต่ 0-100 ค่า a แทนสีเขียวถึงแดง และค่า b แทนสีน้ำเงินถึงเหลือง ค่าทั้งสองจะมีค่าตั้งแต่ +120 ถึง -120
ประเภทของภาพในงานคอมพิวเตอร์กราฟิกประเภทของภาพในงานคอมพิวเตอร์กราฟิก • ภาพแบบบิตแมป (Bitmap) • เป็นภาพแบบ Resolution Dependent • ภาพจะประกอบด้วยจุดสีต่าง ๆ ที่มีจำนวนคงที่ตายตัว • ข้อดี : เหมาะสำหรับภาพที่ต้องการระบายสี สร้างสี หรือกำหนดสีที่ต้องละเอียด สวยงามได้ง่าย • ข้อเสีย : ถ้านำภาพมาขยาย ความสวยงามจะลดลง แต่ถ้าเพิ่มความละเอียด จะทำให้ภาพมีขนาดใหญ่ • ตัวอย่างไฟล์ : .BMP, .PCS, .TIF, .GIF, .JPG, .PCD
ภาพแบบเวกเตอร์ (Vector) หรือ Object-Oriented Graphics • เป็นรูปภาพประเภท Resolution-Independent • เป็นภาพที่สร้างจากคอมพิวเตอร์ที่มีการสร้างให้แต่ละส่วนของภาพเป็นอิสระต่อกัน แยกชิ้นส่วนของภาพทั้งหมดออกเป็นเส้นตรง รูปทรง หรือส่วนโค้ง โดยอ้างอิงตามความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ หรือการคำนวณ • ข้อดี : สามารถเปลี่ยนแปลงขนาดโดยที่ความละเอียดไม่ลดลง มีขนาดของไฟล์ที่เล็กกว่าพวกบิตแมป • ตัวอย่างไฟล์ : .EPS, .WMF, .CDR, .AI, .CGM, .DRW, .PLT
รูปแบบของไฟล์กราฟิกแบบต่าง ๆ • ไฟล์ที่มีการจัดเก็บแบบบิตแมป • Windows Bitmap • Graphic Interchange Format • GEM Bitmap Image • Joint Photographic Experts Group • Microsoft Paint • Z-Soft PC Paintbrush Format • Tragged Image File Format
ไฟล์ที่มีการจัดเก็บแบบเวกเตอร์ไฟล์ที่มีการจัดเก็บแบบเวกเตอร์ • Drawing Interchange Format • Lotus 1-2-3 Picture • Hewlett Packard Graphic Language
ไฟล์ที่มีการจัดเก็บแบบบิตแมปและแบบเวกเตอร์ไฟล์ที่มีการจัดเก็บแบบบิตแมปและแบบเวกเตอร์ • Computer Graphic Metafile • Encapsulated PostScript • PICT / Macintosh QuickDraw Picture Format • Portable Document Format • Windows Metafile
ซอฟต์แวร์สำหรับการพัฒนาสื่อประสมซอฟต์แวร์สำหรับการพัฒนาสื่อประสม • Paint program or bitmapped graphics • Draw program or vector graphics • 3D Modeling programs • Image-Editing Programs • Image enhancement plug-ins
Paint program or bitmapped graphics • Geometric figures • Edit • Add color and patterns • Cut and paste • Rotate and Stretch
Draw program or vector graphics • Fully editable shapes • Bezier curves • Gradient fill • Blending --> morphing • Grouping objects • Rasterize --> refresh rate
3D Modeling programs • Modeling • Arranging and deforming objects • Shading • Setting lights and cameras • Rendering
Image-Editing Programs • Cropping • Brightness, contrast, and color correction • Filters • Layering • File format conversion