530 likes | 779 Vues
รับโล่รางวัลจากนายกรัฐมนตรี 28 มิถุนายน 2552. บทเรียนที่กาฬสินธุ์. อำเภอเขาวง และจังหวัดกาฬสินธุ์ พื้นที่ประวัติศาสตร์ต้นกำเนิดแนวคิด เกษตรทฤษฎีใหม่ และเศรษฐกิจพอเพียง. จ.กาฬสินธุ์. 1. พื้นที่ จำนวน/ตร.กม. 6,946 ตร.กม.
E N D
รับโล่รางวัลจากนายกรัฐมนตรี 28 มิถุนายน 2552
อำเภอเขาวง และจังหวัดกาฬสินธุ์ พื้นที่ประวัติศาสตร์ต้นกำเนิดแนวคิด เกษตรทฤษฎีใหม่ และเศรษฐกิจพอเพียง
จ.กาฬสินธุ์ 1. พื้นที่ จำนวน/ตร.กม. 6,946 ตร.กม. 2. มีอำเภอ/ตำบล 18/ 135 1,584 3. มีหมู่บ้าน 247,070 คร./ 1,033,784 คน 4. มีประชากร/คร.
อ.เขาวง 1. พื้นที่ จำนวน/ตร.กม. 205 ตร.กม. 2. มีตำบล 6 71 3. มีหมู่บ้าน 11,113 คร./34,834 คน 4. มีประชากร/คร.
กรอบพื้นที่จังหวัด ทุนงบประมาณรัฐ การจัดการความรู้ ทุนทรัพยากร ทุนภูมิปัญญา
กรณีศึกษา นางไข่ วิชัยศร ที่อยู่ บ้านเลขที่ 74 หมู่ที่ 6 บ้านโคกกลาง ตำบลจุมจัง อำเภอกุฉินารายณ์ จังหวัดกาฬสินธุ์ ก่อนปี 2547 มีหนี้สินกว่า 100,000 บาท ชีวิตไร้หวัง ไร้อนาคต สุขภาพกาย-จิตแย่ ครอบครัวเกือบล้มละลาย เกือบต้องขายที่ดินทั้งหมด
ข้อมูลที่พบ จากบัญชีครัวเรือน
ตัวอย่างบัญชีครัวเรือนของแม่ไข่ วิชัยศร 74 ม.6 บ.โคกกลาง ต.จุมจัง อ.กุฉินารายณ์ จ.กาฬสินธุ์
ค่าอาหาร กินอาหารมื้อละ 30 บาท x หนึ่งคนกิน 3 มื้อ เป็นเงิน 90 บาท x ใน 1 ปี มี 365 วัน เป็นเงิน 32,850 บาท x สมาชิกในครัวเรือน 5 คน รวมเป็นเงิน 100,000 + 64,250 164,250 บาท
ม้าฝีเท้าดี 100,000 บาท 120,000 บาท 150,000 บาท 99,000 บาท 119,000 บาท 149,000 บาท รายจ่าย รายได้ รายจ่าย รายได้ รายจ่าย รายได้
สู่เกษตร 1 ไร่ ไม่ยาก ไม่จน
มาตรฐานศูนย์เรียนรู้ชุมชน กลุ่มฮักแพงแบ่งปัน (สูตร 4 ม.x 4 ม.x 100 หลุม) -หลุมละ 0.5 ค./50 ต้องมี 1. กล้วย 2. ไม้ปัญญาอ่อน 3. ไม้ฉลาด 4.ไม้ยืนต้น -ปลอดสารเคมี 20 ค. -บัญชีครัวเรือน 15 เดือน เดือนละ 2 ค./30
ภาพฝัน นาข้าว นาข้าว นาข้าว นาข้าว
ผลสัมฤทธิ์ 1. มืที่ดินเพิ่มขึ้น 30 ไร่ 2. มีเงินใช้หนี้สิน จากเดิมมี 100,000 บาท 3. มีเป็ด-ไก่ 100 ตัว 4. มีวัว 12 ตัว 5. มีเงินออมทุกวัน, ซื้อรถไถเดินตามเงินสดได้ 1 คัน 6. สมาชิกในครอบครัว 9 คน ไม่มีใครตกงาน 7. ครอบครัวอบอุ่น, สร้างบ้านเพิ่มอีก 1 หลัง 8. มีสุขภาวะที่ดี
ตอบโจทย์อะไรได้บ้าง 1. Family Folder 9. Organic Farming 2. สุขภาวะ 10. ไร่-นา-สวนผสม 3. ป่า 11. สัตว์เลี้ยงปลอดภัย 4. เห็นศักยภาพของตนเอง 12. ครอบครัวสีขาว 5. เงินออม 13. หนี้สิน 6. แรงงานอพยพ 14. ความร่วมมือรัฐ-ปชช. 7. ครอบครัวอบอุ่น 15. อาจตอบโจทย์วิจัย ABC 8. ชุมชนเข้มแข็ง (Area-Based Collaborative Research)
สู่ครอบครัวต้นแบบ/ศูนย์เรียนรู้ชุมชนสู่ครอบครัวต้นแบบ/ศูนย์เรียนรู้ชุมชน
07 ตารางสรุปผลการประเมิน กลุ่มฮักแพง-แบ่งปัน ตำบลจุมจัง ครั้งที่ 1/2552 เดือนสิงหาคม 2552 (299 คร.จาก 2,000 คร.)
ตัวชี้วัด/เกณฑ์การประเมิน อนุบาล 1 1 ทำบนพื้นที่ 1 ไร่ งานละ 5 คะแนน เกิน 1 ไร่ งานละ 1 คะแนน ไม้ยืนต้น 10 ชนิด 2 ชนิดละ 2 คะแนน เกิน 10 ชนิด ชนิดละ 1 คะแนน พืชผัก 10 ชนิด 3 ชนิดละ 2 คะแนน เกิน 10 ชนิด ชนิดละ 1 คะแนน เครื่องมือวัด(20 คะแนน) 4 ปลอดสารเคมี 100% 5 เดือนละ 5 คะแนน เกิน 4 เดือน เดือนละ 1 คะแนน บัญชีครัวเรือน 4 เดือน
ตัวชี้วัด/เกณฑ์การประเมิน อนุบาล 2 หลุมละ 0.5 คะแนน /100 หลุม (50 คะแนน) 1 หลุมพอเพียง 2 เครื่องมือวัด (20 คะแนน) ปลอดสารเคมี 100% 3 เดือนละ 2 คะแนน (30 คะแนน) บัญชีครัวเรือน 15 เดือน 4 5
ตัวชี้วัด/เกณฑ์การประเมิน จัดลำดับครอบครัว 101 ขึ้นไป A+ 81-100 A 61-80 B 41-60 C 1-40 D - พื้นที่หมู่บ้าน, ตำบล, อำเภอใด มีครอบครัวเกรด A จำนวน 25% ขึ้นไปเป็นพื้นที่เกรด A - ส่งข้อมูล ครัวเรือน, พื้นที่ คุณภาพเกรด Aให้แก่ อบจ., จังหวัด เพื่อพิจารณาสนับสนุนต่อไป
แผนเทศบาลตำบลจุมจัง (2552-2553) ทต.จุมจัง 1 2552 รวมพลคนพอเพียง (ฮักแพงแบ่งปัน) 252 คน 2552 2 ทต.จุมจัง, ศพธ. ประเมินกลุ่มฮักแพงแบ่งปัน 252 ครัวเรือน 1 ครั้ง 2552 3 ทต.จุมจัง ให้รางวัล ครัวเรือน, หมู่บ้าน เกรด A 4 2553 กระทรวงเกษตร พัฒนาแนวคิด 348 ครัวเรือน ประเมินกลุ่มฮักแพงแบ่งปัน 600 ครัวเรือน 4 เดือน/ครั้ง 2553 ทต.จุมจัง 5 2553 6 ทต.จุมจัง ให้รางวัล ครัวเรือน, หมู่บ้าน, เกรด A
1 ใน 4 เริ่มวันนี้รอด 1 ครัวเรือน 1 ครัวเรือน 1 ครัวเรือน 1 ครัวเรือน
เป้าแผนงาน • ปี 2553 เกิดแปลงต้นแบบ 3-5 แปลง x 135 ตำบล • จำนวน 500 แปลง 2. ปี 2554 เกิดแปลงต้นแบบ 3-5 แปลง x 1,620 หมู่บ้าน จำนวน 5,000 แปลง 3. ปี 2555 เกิดแรงกระเพื่อม/ขยายผล 1ต่อ5 – 1ต่อ10 x 5,000 แปลง จำนวน 50,000 แปลง/ไร่/ครัวเรือน/5,000,000ต้น
1 ใน 4 เริ่มวันนี้รอด 50,000 ครัวเรือน 50,000 ครัวเรือน 50,000 ครัวเรือน 50,000 ครัวเรือน
เศรษฐกิจพอเพียง ทฤษฎีใหม่ 3 ขั้น บริบทของกาฬสินธุ์ เครือข่ายฮักแพง-แบ่งปัน (ถอดบทเรียนจากจุมจังโมเดล) 1. มีความพอเพียง เลี้ยงตนเองได้ ขั้นอนุบาล อนุบาล 1 ตัวชี้วัด 5 ข้อ 1 ไร่ ไม่ยาก-ไม่จน แบบหยาบ ๆ อนุบาล 2 ตัวชี้วัด 3 ข้อ 1 ไร่ ไม่ยาก-ไม่จน แบบละเอียดยิ่งขึ้น 2. รวมพลังกัน ในรูปกลุ่ม ขั้นประถม ยังไม่มีบทเรียน ในบริบทพื้นที่ที่ชัดเจน 3. สร้างเครือข่ายกลุ่มอาชีพ ขั้นมัธยม ยังไม่มีบทเรียน ในบริบทพื้นที่ที่ชัดเจน
สรุป ๑. กระบวนการสร้างแปลง-พื้นที่ต้นแบบ ทุกตำบล ทุกหมู่บ้าน ในบริบทที่ต่างกันตามภูมินิเวศ ๒. การบูรณาการกับภาคีภาครัฐในพื้นที่ ทั้งท้องที่ (จ./อ./ต.) และท้องถิ่น (อบจ./อบต./ทต.)
ปัจจัยความสำเร็จด้วยโครงสร้าง 3 ส่วน รัฐ ภาค ปชช. (ปราชญ์และเครือข่ายปราชญ์) นักจัดการองค์ความรู้
ทฤษฎี XYZ X มีจำนวน 10% Y มีจำนวน 80% Z มีจำนวน 10%
ทฤษฎี XYZ X มีจำนวน 10% Y มีจำนวน 80% Z มีจำนวน 10%
ทฤษฎี XYZ X มีจำนวน 10% Y มีจำนวน 80% Z มีจำนวน 10%
ทฤษฎี XYZ X มีจำนวน 10% Y มีจำนวน 80% Z มีจำนวน 10%
ทฤษฎี บัว 4 เหล่า X Y Z